Page 140 - Full paper สอฉ.3-62
P. 140

อาหารในถังจ่าย และระดับอาหารเป้าหมายที่ตั้งไว้ส าหรับจ่าย [6]  วิธีควบคุมทิศทาง DC Motor ด้วย Relay. (2559), สืบค้นเมื่อ 26
             ในแต่ละครั้ง ผู้ใช้ (User) สามารถเข้าถึงเพื่อควบคุม ตั้งค่า และ  มกราคม 2561, จาก www.arduinothai.com/article/38/วิธีควบคุม

             ติดตามการท างาน ด้วยแอพพลิเคชั่นบลิงค์ผ่านโทรศัพท์มือถือ  ทิศทาง-dc-motor-ด้วย-relay
             สมาร์ทโฟน โปรแกรมการท างานสามารถตั้งค่าเวลาการให้  [7]  คิดยกก าลังสอง ด าเนินรายการโดย สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ สถานี
                                                                  วิทยุโทรทัศน์ไทยพีบีเอส  17 เมษายน 2560 เวลา 22.26 -22.33 น.
             อาหารจ านวน 3 ครั้งต่อวัน เลือกจ านวนไก่ที่เลี้ยงและน ้าหนัก  [8]  สายยน อ้อนสูงเนิน. ข้าราชการครูผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่เป็นอาชีพเสริม
             อาหารที่ให้ไก่ต่อตัว มีการแจ้งสภาวะการท างานตามเวลาจริง  สัมภาษณ์ (18 พฤษภาคม 2561)
             และแจ้งเตือนน ้าหนักอาหารต ่ากว่าระดับที่ก าหนด
                ผลการทดสอบเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ สามารถท างาน

             ได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถจ่ายอาหารไก่ได้ไม่น้อยกว่าค่า
             น ้าหนักที่ก าหนดไว้ ที่มีค่าความผิดพลาดไม่เกิน ±6.36

             เปอร์เซ็นต์ การท างานตามโปรแกรมเวลาไม่พบความผิดพลาด
             และการทดสอบใช้งานเสมือนจริงสามารถท างานได้ตรงตาม
             เงื่อนไขที่ก าหนด สามารถน าไปใช้เป็นเครื่องต้นแบบในการ

             พัฒนาให้สอดคล้องกับขนาดและความต้องการของเกษตรกร
             ต่อไป

             กิตติกรรมประกาศ

                ขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์สาท  ค ามูล สถาบัน

             เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง  และผู้ช่วย
             ศาสตราจารย์ ดร.จิรโรจน์  สามารถโชติพันธุ์ มหาวิทยาลัย
             เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ขอนแก่น ที่ได้ให้ค าแนะน าในการ

             ท างานวิจัยและการเขียนบทความวิจัยในครั้งนี้ ขอบคุณผู้บริหาร
             สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ที่ให้การ

             สนับสนุนให้อาจารย์ผู้สอนในระดับปริญญาตรีและนักศึกษาได้
             มีการจัดท าผลงานทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัด
             การศึกษาในระดับปริญญาตรี


             เอกสารอ้างอิง

             [1]  กอบเกียรติ  สระอุบล. พัฒนา IoT บนแพลตฟอร์ม Arduino
                 และ Raspberry Pi. กรุงเทพฯ : หสม ส านักพิมพ์ อินเตอร์มิเดีย,
                 2561.
             [2]  การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นกับ Arduino C++. (2558). สืบค้นเมื่อ
                 14 ธันวาคม 2560, จากhttp://www.Myarduino.net/article/5/การ
                 เขียนโปรแกรมเบื้องต้น
             [3]  ข้อมูลการให้อาหารไก่.  สืบค้นเมื่อ 18/11/2561, จาก
                 http://rakbankerd.com/agriculture/Page.php?id=3083&s=tblanimal
             [4]  บุญธรรม  ภัทราจารุกุล, งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น.
                 กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจ ากัด, 2559.
             [5]  บุญเรือง  วังศิลาบัตร, รศ.  อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรมและการ
                 ออกแบบวงจร.  กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558.

                                                              7
                                                                                                              122
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145