Page 27 - Full paper สอฉ.3-62
P. 27
nd
การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 The 2 Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
Research and Innovation Conference
วันที่ 6 กันยายน 2562 จ. มหาสารคาม 6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND
การหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องการควบคุมเซอร์โวนิวเมติกส์ ด้วย PLC
The Efficiency Evaluation of Instruction Module for
Servo-Pneumatic Control Through PLC
4
5
2
ณัฐวิชช์ สุขสง , สุรินทร์ โกศลสมบัติ , สมนึก ด านุ้ย , อนุชิต สิงห์จันทร์ และชาญชัย แสงโพธิ์
1
3
1,2,3,4 สาขาวิชาเทคโนโลยีเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
5 สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
* E-mail address: Nattawit0305@gmail.com
บทคัดย่อ Control instructional package was constructed by means of
the implementation of ON/OFF-5/3 pneumatic valve
จากการเรียนการสอนในวิชาการควบคุมอัตโนมัติทาง
อุตสาหกรรม นักศึกษามีความเข้าใจน้อยซึ่งท าให้ผลสัมฤทธิ์ regulation so as to regulation and compel the piston and Palin-
ทางการเรียนต ่า เนื่องจากการเรียนการสอนเน้นบรรยาย ขาด ear transducer position through PLC programmer instructed
ชุดฝึกปฏิบัติจริงซึ่งมีราคาแพง ทางผู้วิจัยจึงมีแนวคิดสร้างสื่อ by the PID and PWM (Pulse Width Modulation) with more
การเรียนการสอนชุดควบคุมเซอร์โวนิวเมติกส์ที่ใช้อุปกรณ์ที่มี unerring accuracy. The learning achievement scores of the
อยู่ในแผนก โดยใช้วาล์วนิวเมติกส์ 5/3 แบบ ON/OFF มา participants was higher than before learning process. The
ควบคุมต าแหน่งของกระบอกสูบ โดยเขียนโปรแกรมควบคุม efficiency of the instructional package was 90.00/82.50 being
จากอุปกรณ์ PLC และยังใช้ฟังก์ชั่น PID และPWM มาช่วยใน higher than the preset criterion of 80/80 and the participants
การควบคุมเพื่อให้เกิดความแม่นย ามากขึ้น และเมื่อน าไป studying with this package got the highest level of
ทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพของชุดการสอน satisfaction.
และเปรียบเทียบคะแนนระหว่างเรียน และหลังเรียน ซึ่งได้ค่า Keywords: The Efficiency Evaluation of Instruction Module
ประสิทธิภาพของชุดการสอนเท่ากับ 90.00/82.50 ซึ่งสูงกว่า Servo Pneumatic
เกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 แสดงว่านักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ
เพิ่มขึ้นหลังเรียนด้วยชุดการสอนนี้ 1. ค าน า
ค าส าคัญ: การหาประสิทธิภาพชุดการสอนเซอร์โวนิวเมติกส์ ปัจจุบันเทคโนโลยีระบบนิวเมติกส์ได้เข้ามามีบทบาท
ส าคัญในอุตสาหกรรม โดยช่วยให้การท างานมีความรวดเร็ว
Abstract แม่นย า และมีความปลอดภัยในการท างาน เพื่อให้การท างาน
Due to the fact the learning achievement Automatic ของระบบ นิวเมติกส์มีประสิทธิภาพ จะต้องออกแบบระบบนิว
Control of Industrial course was rather low and unsatisfied on เมติกส์ที่สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของ ก้านลูกสูบ ไปยัง
account of Lecture, theoretical oriented teaching procedure as ต าแหน่งที่ต้องการได้อย่างแม่นย า ซึ่งการออกแบบระบบนิวเม
well as the inadequacy of the authentic instructional packages ติกส์ที่สามารถควบคุมต าแหน่งได้นี้เรียกว่า ระบบเซอร์โวนิวเม
with being high-priced value, this Servo-Pneumatic System ติกส์ ซึ่งระบบนี้เป็นการควบ คุมระยะการเคลื่อนที่ของก้าน
1
9