Page 749 - Full paper สอฉ.3-62
P. 749

การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2             The 2  Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
                                                                 nd
                                                                                 Research and Innovation Conference
               วันที่  6  กันยายน  2562  จ. มหาสารคาม                                                                               6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND

                                 การประเมินคาร์บอนฟุตปริ้นท์ในการผลิตนมดิบของฟาร์มโคนม
                                           วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา



                                Carbon Footprint Assessment in Milk Production of Dairy farm
                                 of Nakhonratchasima College of Agriculture and Technology


                                                            1
                                                                            2
                                             กิตติทัต ไทยสันเทียะ  และ นิธินันท์ ลิบลับ
                      1  แผนกวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                      2  แผนกวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


             บทคัดย่อ                                         ABSTRACT


                 คาร์บอนฟุตปริ้นท์ของกระบวนการผลิตน ้านมในฟาร์ม   Carbon footprint in dairy cattle farm is very important
             โคนมมีความส าคัญและบ่งบอกประสิทธิภาพด้านการจัดการ  because it indicates the efficiency of farm management. Dairy
             ฟาร์ม ในการศึกษาครั้งนี้เก็บข้อมูลจากฟาร์มโคนมของ  cattle  production  system  of  Nakhonratchasima  College  of

             วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา ที่มีระบบการเลี้ยง  Agricultural and Technology is the milking cows are in house
             แบบอยู่ในโรงเรือนตลอดเวลา โดยโคนมเป็นสายพันธุ์ลูกผสม  using free stall barn system.   One hundred and six crossbreds

             พันธุ์โฮสไตน์ฟรีเซียน 96.5% จ านวน 32 ตัว แบ่งโคเป็น 6   Holstein  Friesian  ( 96. 5%)   were allocated  into  6  groups:
             กลุ่มได้แก่ โครีดนม, โคพักรีดนม, โคสาวท้อง, โคสาว, โครุ่น   lactating cows, dry cows, Pregnant heifers, heifers, younger
             และลูกโค ท าการบันทึกข้อมูลผลผลิตน ้านม, น ้าหนักตัวสัตว์,   heifer and calves bull. Milk production, body weight, manure

             การเก็บสะสมมูลในฟาร์ม, การใช้น ้ามัน, และการใช้ไฟฟ้าใน  storage,  fuel,  and  electricity  were  recorded  to  assess  the
             ฟาร์ม เพื่อน ามาประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจก (GHG) ที่  greenhouse  gas  ( GHG)   emissions  via  carbon  footprint
             ปล่อยจากฟาร์มโคนม จากการศึกษาพบว่าค่าผลรวมการปล่อย   equation. The results were shown that total greenhouse gas was

             GHG ทั้งหมด (3,592.13 กิโลกรัม CO e), คิดเป็นค่าผลรวมสู่  3,592.13 kg CO e, allocated to milk (92.58 % ) , and annual
                                         2
                                                                           2
             การผลิตน ้านม (92.58 %), และค่าผลผลิตน ้านมรวมทั้งปีต่อตัว   milk production/cow (3,778.62 kg). The assessment of carbon
             (3,778.62 กิโลกรัม) น ามาประเมินผลปริมาณคาร์บอนฟุตปริ้นท์มี  footprint was 0.88 kg of CO  equivalent units/kg of energy-
                                                                                    2
             ค่าเท่ากับ 0.88 กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO   corrected milk (ECM). This study indicated that high carbon
                                                          2
             equivalent; COe) ต่อกิโลกรัมของผลผลิตน ้านมที่มีการปรับค่า  footprint value was due to decrease in imbalance of the herd of
                        2
             พลังงานในน ้านม (ECM) สรุปจากการศึกษาครั้งนี้ ค่าการ  cattle in the farm and milk yield per day is low.
             ประเมินผลคาร์บอนฟุตปริ้นท์ของฟาร์มนี้มีค่าสูง เนื่องมาจาก
             สัดส่วนของฝูงโคในฟาร์มจะเห็นได้ว่ากลุ่มโครีดนมมีปริมาณ  Keywords: greenhouse gas, carbon footprint, milk production,

             น้อยและผลผลิตน ้านมต่อตัวต่อวันค่อนข้างต ่า      dairy cattle
                                                              1. ค าน า
             ค าส าคัญ: ก๊าซเรือนกระจก, คาร์บอนฟุตปริ้นท์, การผลิตน ้านม

             , โคนม                                               ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนทวีความรุนแรงขึ้นอย่าง
                                                              ต่อเนื่องสังเกตจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี เนื่องมาจากมีการ






                                                                                                              731
   744   745   746   747   748   749   750   751   752   753   754