Page 750 - Full paper สอฉ.3-62
P. 750

nd
               การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2             The 2  Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
                                                                                   Research and Innovation Conference
               วันที่  6  กันยายน  2562  จ. มหาสารคาม                                                                               6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND

             ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์และมีการ  2. วิธีการศึกษา

             คาดการณ์ว่าประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 9.5 พันล้านคนในปี พ.ศ.   2.1 เก็บข้อมูลปริมาณการผลิตน ้านมดิบในฟาร์ม
             2593 การเพิ่มขึ้นดังกล่าวจะส่งผลอย่างมากต่อความต้องการด้าน  ท าการศึกษาเก็บข้อมูล ณ ฟาร์มโคนมวิทยาลัยเกษตรและ

             อาหาร ของประชากรที่เพิ่มขึ้น [1] ดังนั้นความต้องการบริโภคของ  เทคโนโลยีนครราชสีมา ซึ่งมีโคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
             มนุษย์ที่เพิ่มมากขึ้น จะส่งผลให้อุตสาหกรรมและการเกษตร  จ านวน 32 ตัว เก็บข้อมูลโดยแบ่งโคออกเป็น 6 กลุ่ม คือ โครีด
             เพิ่มขึ้น ซึ่งในกระบวนการผลิตนั้นย่อมมีการปล่อยก๊าซ  นมจ านวน 5 ตัว น ้าหนักตัวเฉลี่ย 583 กิโลกรัม โคพักรีดนม

             คาร์บอนไดออกไซด์ (CO) มีเทน (CH ) ไนตรัสออกไซด์ (NO)   จ านวน 10 ตัว  น ้าหนักตัวเฉลี่ย 572 กิโลกรัม โคสาวท้อง
                                                        2
                                         4
                                2
             และก๊าซอื่น ๆ ก่อเกิดเป็นก๊าซเรือนกระจก ส่งผลให้เกิดภาวะ  จ านวน 5 ตัว น ้าหนักตัวเฉลี่ย 474 กิโลกรัม โคสาวจ านวน 6
             โลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ [2] ปัญหา  ตัว น ้าหนักตัวเฉลี่ย 383 กิโลกรัม โครุ่นจ านวน 3 ตัว น ้าหนัก
             เกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจก (Green House Gases, GHG) คือการเพิ่ม  ตัวเฉลี่ย 276 กิโลกรัม และลูกโคจ านวน 3 ตัว น ้าหนักตัวเฉลี่ย
             ปริมาณของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศโดยเพิ่มผลกระทบจาก  62 กิโลกรัม โดยการจัดการให้อาหารของฟาร์มใช้อาหารข้น

             รังสีความร้อนและความร้อนต่ออุณหภูมิพื้นผิวและชั้นบรรยากาศ   และอาหารหยาบ เก็บข้อมูลปริมาณการกินได้ ผลผลิตน ้านม
             จะถูกแสดงบนพื้นฐานของ CO  เทียบเท่า (CO e) ผลกระทบจาก  ตลอดทั้งปี วัดรอบอกโคเพื่อน าไปท านายน ้าหนักตัวโค โดยใช้
                                   2
                                              2
             ภาวะโลกร้อนที่เกิดจากก๊าซมีเทนอยู่ที่ 25 เท่าของก๊าซ  สมการท านายน ้าหนักตัวโคที่มีความเหมาะสมกับโคนมใน
             คาร์บอนไดออกไซด์ ไนตรัสออกไซด์ 310 เท่า  ดังนั้นแม้ความ  ประเทศไทย [2]
             เข้มข้นของไนตรัสออกไซด์จะเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยในบรรยากาศ  2.2 การประเมินหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
             จะส่งผลต่อภาวะโลกร้อนเป็นอย่างมากตามล าดับ [3]       จากนั้นน าข้อมูลที่ได้มาท านายปริมาณ GHG โดยใช้

                 ในภาคการเกษตรมีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก  สมการผลิตก๊าซ CH  ในฟาร์ม [5] สมการผลิตก๊าซ N O [6]
                                                                              4
                                                                                                       2
             โดยเฉพาะก๊าซมีเทน ไนตรัสออกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์   และสมการผลิตก๊าซ CO  [7] และน าปริมาณน ้านมที่ได้ไป
                                                                                 2
             เกิดการปล่อยมลพิษทั่วโลกประมาณ 10-12% ซึ่งมาจากภาคปศุ  ประเมินหาปริมาณการปล่อย GHG รวมระหว่างผลผลิตน ้านม
             สัตว์คิดเป็นร้อยละ 80 โดยส่วนใหญ่แล้วมาจากการผลิตสัตว์  และผลผลิตสัตว์ที่เป็นผลผลิตจากฟาร์ม (allocated to milk) [8]
             เคี้ยวเอื้องโดยเฉพาะโคนมและโคเนื้อ [4] ซึ่งในเขตจังหวัด  ดังแสดงในสมการ

             ลพบุรี สระบุรี และนครราชสีมา มีเกษตรกรประกอบอาชีพ
                                                                                  MILK
             เลี้ยงโคนมในพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศ ซึ่งวิทยาลัย  F  =  (2.8 N cow  × BW cow  +6.5 N calf  × BW calf  +MILK)              (1)
                                                               m
             เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา เป็นฟาร์มโคนมที่จัดตั้งขึ้น  เมื่อ

             ในสถานศึกษาและได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานอย่าง   F  คือ ส่วนประกอบของการปลดปล่อยก๊าซในน ้านม
                                                                   m
             เป็นระบบและมีความพร้อมในการน าร่องเพื่อการตรวจวัด    MILK คือ ปริมาณน ้านมโคที่ขายตลอดทั้งปี (กิโลกรัม)
             ประเมินการปลอปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากระบบการท าฟาร์ม   N  คือ ปริมาณโคที่ขายในฟาร์มตลอดทั้งปี (ตัว)
                                                                   cow
             โคนม เพื่อใช้เป็นโมเดลต้นแบบในการศึกษาการประเมิน     BW  คือ น ้าหนักโคที่ขายเฉลี่ย (กิโลกรัม)
                                                                     cow
             ปริมาณคาร์บอนฟุตปริ้นทร์ในฟาร์มโคนมในพื้นที่ต่อไป    N  คือ ปริมาณลูกโคที่ขายในฟาร์มตลอดทั้งปี (ตัว)
                                                                   calf
             ดังนั้นจึงเป็นที่มาของวัตถุประสงค์การศึกษาในครั้งนี้ เพื่อ  BW  คือ น ้าหนักลูกโคที่ขายเฉลี่ย (กิโลกรัม)
             ศึกษาประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรม      calf
             ต่าง ๆ ภายในฟาร์มโคนมวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี   2.3 การประเมินหาค่าปริมาณคาร์บอนฟุตปริ้นท์ในผลผลิต

             นครราชสีมา                                       น ้านมของฟาร์มโคนม







                                                                                                              732
   745   746   747   748   749   750   751   752   753   754   755