Page 755 - Full paper สอฉ.3-62
P. 755

The research found that Products that             จากเหตุผลและความส าคัญดังกล่าว  ผู้วิจัยได้เห็น
               are created from unused paper That has been     ปัญหาที่เกิดจากกระดาษที่ใช้แล้วและเห็นความส าคัญของ
               developed to be effective in the use of         การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  จึงมีแนวคิดที่จะน าความรู้วิชา
               research objectives The target group has
                                                               ศิลปะมาบูรณาการสร้างสรรค์กระดาษที่ไม่ใช้แล้ว เช่น
               opinions and satisfaction with the creation
                                                               กระดาษลัง กระดาษพิมพ์งาน กระดาษหนังสือพิมพ์
               of work from unused paper. At the highest
               level (average 4.54)                            กระดาษอื่น ๆมาแปรสภาพกลับมาใช้ใหม่โดยใช้งานฝีมือท า
                                                               การสร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว  เป็นของใช้ที่
                1.   บทน า                                     ทันสมัย แต่ยังคงความเป็นเอกลักษณ์การสร้างสรรค์งาน

                           ศิลปะ เป็ นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความคิด  หัตถศิลป์  ถือความงามตามหลักองค์ประกอบศิลป์  เพื่อ
               สร้างสรรค์ จินตนาการที่แสดงออกในรูปลักษณ์ต่างๆ
               แสดงออกซึ่งอารมณ์ ความรู้สึก ให้เกิดความงาม ความ  น าไปใช้และประดับตกแต่งภายในบ้านและส านักงานได้

               ประทับใจหรือความสะเทือนอารมณ์ตามภาพลักษณ์ของ    อย่างมีคุณภาพ  สวยงาม ทนทานปลอดภัยและมีคุณค่า  ซึ่ง
               งาน ตามประสบการณ์ รสนิยม และทักษะของแต่ละคน     ผลงานที่ได้สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้จริง  เพิ่มมูลค่า

               เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย์ ขนบธรรมเนียม จารีต   ให้กับกระดาษเป็นแนวทางในการสร้างงาน สร้างรายได้
               ประเพณี หรือความเชื่อในลัทธิศาสนา               และสร้างอาชีพสู่เชิงพาณิชย์ต่อไป
                         ศิลปะคืองานอันเป็นความพากเพียรของมนุษย์ ซึ่ง
               จะต้องใช้ความพยายามด้วยมือและความคิดหัตถศิลป์ เป็น  2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

               งานศิลปะประเภทหนึ่ง  ที่น าไปใช้ในงานหัตถกรรม โดย        2.1  เพื่อออกแบบและพัฒนางานหัตถศิลป์ร่วมสมัยเชิง
               ใช้มือท าเป็นส่วนใหญ่งานศิลปะที่มีคุณค่าจึงสร้างสรรค์  พาณิชย์ในรูปของการสร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว

               ขึ้นจากการแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ เช่น การใช้วัสดุและ       2.2  เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจของกลุ่ม
               เครื่องมือ การสร้างสรรค์ให้มีคุณค่าทางความงาม เช่น   ตัวอย่างที่มีต่อการสร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว
               เครื่องปั้นดินเผา งานแกะสลักไม้ งานถักทอ งานหวายและ  3. ขอบเขตการวิจัย

               การน าของที่ใช้แล้วมาสร้างสรรค์  เช่น  ขวดพลาสติก       3.1  วัสดุที่ใช้ได้แก่
               กระดาษ  เป็นต้น                                             3.1.1 กระดาษ  ได้แก่ กระดาษหนังสือพิมพ์

                          กระดาษถูกผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการ  กระดาษลัง กระดาษพิมพ์งานกระดาษวาดภาพ กระดาษ
               ใช้งานของมนุษย์ในหลากหลายรูปแบบแต่ละปีกระดาษถูก  ชาร์ทและกระดาษถ่ายเอกสาร
               ผลิตออกมาเป็นจ านวนมาก  มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ             3.1.2  สี  ได้แก่  สีโปสเตอร์  สีสเปรย์ด าด้าน  สี
               สูงขึ้น ดังนั้นหากสามารถน ากระดาษที่ใช้แล้วกลับมา  พลาสติก  ชแล็ค

               ปรับเปลี่ยนใช้ประโยชน์หรือเวียนท าใหม่  จะเป็นการช่วย             3.1.3  ส่วนประกอบอื่นๆได้แก่ กาว กรอบไม้
               ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานลงได้   กระจกเงา ผงทองสีสเปรย์

               เป็นอย่างมาก  กระดาษที่ใช้แล้วถ้าไม่รู้จักแยกประเภทจะ       3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
               สร้างปัญหาตามมา ในแต่ละปีมีสมุดเก่าที่ใช้แล้วกระดาษ  ประชากร  เป็นผู้ที่สนใจการสร้างสรรค์งานจากกระดาษที่
               รายงาน  กระดาษถ่ายเอกสาร และกระดาษอื่น ๆที่สะสมไว้  ไม่ใช้แล้ว

               ตามห้องต่างๆ ถ้าน าไปเผาก็สร้างมลพิษให้กับอากาศ  กลุ่มตัวอย่าง  เป็นผู้ที่สนใจสิ่งประดิษฐ์ในจังหวัด
               ท าลายสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อสุขภาพอนามัย           มหาสารคาม  ที่ได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง



                                                          ~ 2 ~

                                                                                                              737
   750   751   752   753   754   755   756   757   758   759   760