Page 758 - Full paper สอฉ.3-62
P. 758
ขั้นตอนกระบวนการวิจัยที่พัฒนาสิ่งประดิษฐ์มีขั้นตอน 6.2 ควรศึกษารูปแบบใหม่ ๆในการสร้างสรรค์
กระบวนการที่เป็นระบบ ศึกษาปัญหา สาเหตุของปัญหา งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว เป็นชิ้นงานให้หลากหลาย
น าข้อมูลมาวิเคราะห์สภาพของปัญหาก่อนเพื่อน าปัญหา รูปแบบ
ออกแบบและพัฒนาสร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้ 6.3 ควรน าผลงานวิจัยไปเผยแพร่แก่หน่วยงานที่
แล้ว อีกทั้งมีการน าสิ่งประดิษฐ์ไปทดลองใช้งานจริงเพื่อ เกี่ยวข้องกับการก าจัดขยะ หรือชุมชนที่สนใจในการน า
หาข้อบกพร่องและน าข้อบกพร่องนั้นมาปรับปรุงแก้ไข ความรู้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นสินค้าต่อไป
ชิ้นงานเป็นระยะท าให้ขั้นตอนกระบวนการวิจัยเป็นระบบ
ส่งผลให้การสร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว มี
ประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
5.2 จากผลการวิจัย พบว่า ผู้ที่สนใจการ
สร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่างมีความคิดเห็นและความพึงพอใจต่อการ
สร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว อยู่ในระดับมาก
ที่สุดผู้สนใจให้ความเห็นว่า ผลงานมีหลากหลายรูปแบบ
เลือกสรรได้ตามขนาดที่ต้องการ มีความแข็งแรง ทนทาน
สวยงาม สะดุดตา น่าสนใจ แปลกใหม่ และการน า
กระดาษที่ใช้แล้วมาสร้างสรรค์ผลงาน เป็นการช่วย
อนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม
5.3 จากผลการวิจัย พบว่า ผู้ที่สนใจที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่างมีความคิดเห็นและความพึงพอใจ เห็นว่าด้านการ
ขนย้ายด้านราคาถูก การน าไปใช้และความแปลกใหม่ มี
ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการ
สร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว ขนาดของชิ้นงาน
มีขนาดแตกต่างกัน การขนย้ายของแต่ละคนแตกต่างกัน
เมื่อน าไปใช้อาจมีปัญหาในการจัดวางเพราะสิ่งประดิษฐ์มี
น ้าหนักไม่เท่ากัน เมื่อยึดไม่ดีอาจท าให้สิ่งประดิษฐ์หลุด
ล่วงได้ จากเหตุผลดังกล่าวจึงอาจมีผลต่อกลุ่มตัวอย่างได้
6. ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป
6.1 ควรมีการศึกษาการน าวัสดุอื่น ๆ มา
สร้างสรรค์งานจากกระดาษที่ไม่ใช้แล้ว เป็นสิ่งของ
เครื่องใช้รูปแบบ ที่หลากหลาย
~ 5 ~
740