Page 761 - Full paper สอฉ.3-62
P. 761

ก าหนดนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยใช้โปรแกรม  5. สรุปผลการวิจัย
             ส าเร็จรูป                                       5.1 การศึกษาปริมาณซังขนุนที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะ

                                                              กินได้จากซังขนุน ทั้ง 3 สูตร พบว่าสูตรที่ 2 ซังขนุน 60%
             4. ผลการวิจัยและการอภิปรายผล                     น ้าตาล 20% น ้าเปล่า 20% เป็นสูตรที่เหมาะสมที่สุด

             4.1  การศึกษาปริมาณซังขนุนที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะ  5.2 การศึกษาปริมาณความชื้นที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกิน
             กินได้จากซังขนุนทั้ง 3 สูตร พบว่าสูตรที่ 2 ซังขนุน 60%   ได้จากซังขนุน พบว่าผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้จากซังขนุน สูตร

             น ้าตาล 20% น ้าเปล่า 20% เป็นสูตรที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งได้ผล  ที่ 2 (60%) มีปริมาณความชื้น (ร้อยละโดยน ้าหนักแห้ง)
             การทดสอบจากการศึกษาความพึงพอใจต่อผู้บริโภคที่มีต่อ  น้อยที่สุด อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05
             ผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้จากซังขนุนใน สูตรที่ 2 มีค่าคะแนน  5.3 การศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกิน

             สูงสุดอยู่ในระดับชอบปานกลาง                      ได้จากซังขนุน พบว่าผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้จากซังขนุน มี
             4.2  การศึกษาปริมาณความชื้นที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกิน  ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดน้อยกว่า 250 CFU/g
             ได้จากซังขนุน พบว่าปริมาณความชื้น (ร้อยละโดยน ้าหนัก  5.4 การศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์

             แห้ง) ในสูตรที่ 2 (60%) มีค่าเท่ากับ x ̅=8.69, S.D.=0.44 เป็น  ภาชนะกินได้จากซังขนุน ในสูตรที่ 2 (60%) ผู้บริโภคมีความ
             ผลิตภัณฑ์อาหารแห้งซึ่งสมบัติและลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์  พึงพอใจมากที่สุด พบว่าคะแนนความพึงพอใจด้านสี อยู่ใน
             อาหารแห้ง ต้องมีปริมาณความชื้นน้อยกว่า (ต ่ากว่า15%)   ระดับชอบปานกลาง (x ̅=6.44, S.D.=0.73) ด้านกลิ่น อยู่ใน

             เพื่อป้องกันและควบคุมจุลินทรีย์ที่ท าให้อาหารเสื่อมเสียทั้ง รา   ระดับชอบปานกลาง (x ̅=6.82, S.D.=0.87) ด้านรสชาติ อยู่ใน
             ยีสต์และแบคทีเรีย (Jay, 1998)                    ระดับชอบปานกลาง (x ̅=6.86, S.D.=1.07) ด้านเนื้อสัมผัส อยู่

             4.3 การศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกิน  ในระดับบอกไม่ได้ว่าชอบ หรือไม่ชอบ (x ̅=5.40, S.D.=1.59)
             ได้จากซังขนุน พบว่าปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดพบว่าผลิตภัณฑ์  และด้านความชอบโดยรวม อยู่ในระดับชอบปานกลาง (x
             ภาชนะกินได้จากซังขนุนมีปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดน้อยกว่า        ̅=6.60, S.D.=0.67) อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05

             250 CFU/g ซึ่งน้อยกว่าที่มาตรฐานองค์กรอาหารและยาของ
             ประเทศสหรัฐอเมริกา ก าหนดว่าต้องมีจุลินทรีย์ทั้งหมดน้อย  กิตติกรรมประกาศ

             กว่า 250 CFU/g (BAM, 2001) โดยธรรมชาติการเจริญเติบโต     ขอขอบคุณภาควิชาเทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ
             และขยายพันธุ์ของจุลินทรีย์ต้องใช้น ้าเป็นปัจจัยส าคัญ เมื่อ  วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
             ผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้จากซังขนุนผ่านกระบวนการการอบ

             แบบลมร้อนท าให้น ้าระเหยออกไปเชื้อจุลินทรีย์จึงไม่สามารถ  เอกสารอ้างอิง
             ใช้น ้าในการเจริญเติบโตได้ เซลล์ของจุลินทรีย์จึงไม่สามารถท า  กองโภชนาการ กรมอนามัย. (2530). ตารางแสดงคุณค่าอาหาร
             หน้าที่ได้เหมือนกับสภาพปกติ (นิธิยา รัตนาปนนท์ และคณะ,      ไทยในส่วนที่กินได้ 100 กรัม.  (พิมพ์ครั้งที่ 4).

             2550)                                                   กรุงเทพฯ : คณะกรรมการสวัสดิการ กรมอนามัย
             4.4 การศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์     กระทรวงสาธารณะสุข.

             ภาชนะกินได้จากซังขนุน พบว่าผู้บริโภคมีความพึงพอใจใน  กองบรรณาธิการเพชรกะรัต. (2537). ขนุน. (พิมพ์ครั้งที่ 5).
             สูตรที่ 2 (60%) อยู่ในระดับชอบปานกลาง มีค่าเท่ากับ 6.60      นนทบุรี : ส านักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม.
             เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์มีสีเหลืองสวย รสชาติหวานพอดี กลิ่นหอม  กองโภชนาการกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. (2544).

             ของซังขนุนชัดเจนและเนื้อสัมผัสของเส้นใยเกาะตัวกันได้ดี      ซังขนุน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
                                                                     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
                                                              กองโภชนาการกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. (2544).
                                                                     น ้าตาล. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,

                                                                     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).

                                                              3
                                                                                                              743
   756   757   758   759   760   761   762   763   764   765   766