Page 760 - Full paper สอฉ.3-62
P. 760

หรือสูดดมเข้าไป ท าให้เยื่อเมือกเกิดการระคายเคือง มีอาการไอ  3. วิธีด าเนินการวิจัย
             และหายใจล าบาก ปวดศีรษะ ง่วงซึมและก่อให้เกิดมะเร็ง                      3.1 ศึกษาปริมาณซังขนุนที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกิน

                        ขนุนเป็ นผลไม้ชนิดหนึ่ งที่มีกลิ่นและรสชาติ  ได้จากซังขนุน 3 สูตร โดยใช้ปริมาณซังขนุน 80% 60% และ
             เฉพาะตัว ภายในผลของขนุนจะประกอบไปด้วย เนื้อขนุน  40%

             เมล็ดขนุนและซังขนุน ซึ่งเนื้อขนุนและเมล็ดขนุนจะนิยมน ามา  3.2 ศึกษาปริมาณความชื้นที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้
             บริโภค และแปรรูป โดยเนื้อขนุนสามารถน ามาบริโภคสดได้  จากซังขนุน   โดยใช้วิธี AOAC, 2016 ดังนี้
             ชังขนุนเมื่อน าเนื้อ และเมล็ดออกไปแล้วก็ไม่นิยมมาบริโภค จึง  3.2.1 อบภาชนะส าหรับหาความชื้นในตู้อบไฟฟ้าที่อุณหภูมิ
             น าซังขนุนไปทิ้ง ซังขนุนมีสี กลิ่น รสชาติและลักษณะเนื้อ  105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง น าออกจากตู้อบใส่ไว้ใน

             สัมผัสที่ไม่ได้ด้อยกว่ามากกัน ซึ่งในส่วนของผู้บริโภค และ  โถดูดความชื้น ปล่อยทิ้งไว้จนกระทั่งอุณหภูมิของภาชนะ
             โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารไม่นิยมน ามาบริโภคหรือ  ลดลงเท่ากับอุณหภูมิห้องแล้วชั่งน ้าหนักอีกครั้ง

             แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น จึงเป็นสาเหตุให้เกิดของเหลือ  3.2.2 ท าเช่นเดียวกับข้อ 1 จนได้ผลต่างของน ้าหนักที่ชั่งสอง
             ทิ้งในปริมาณ นอกจากใยอาหารแล้วจะให้พลังงานแล้ว ยังมี  ครั้งติดต่อกันไม่เกิน 1-3 มิลลิกรัม
             ประโยชน์ต่อร่างกายท าหน้าที่ของทางเดินอาหารส่วนต้น ช่วย  3.2.3 ชั่งตัวอย่างที่ต้องการหาความชื้นให้ได้น ้าหนักที่แน่นอน

             ในการขับถ่าย ของล าไส้ใหญ่จึงท าให้ค านึงถึงการใช้ใยอาหาร  1-2 กรัม ใส่ลงในภาชนะหาความชื้นที่ทราบน ้าหนักแน่นอน
             ท าผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้จากซังขนุน    ซึ่งเป็นวัตถุดิบเหลือ  น าไปอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส นาน 5-6

             ใช้น ามาประยุกต์ มีคุณค่าอาหารไม่น้อยกว่าส่วนเนื้อ    ชั่วโมง น าออกจากตู้อบใส่ไว้ในโถดูดความชื้น ปล่อยทิ้งไว้
                        ดังนั้นผู้วิจัยตระหนักถึงการใช้ภาชนะจากโฟมและ  จนกระทั่งอุณหภูมิของภาชนะลดลงเท่ากับอุณหภูมิห้องแล้วชั่ง
             พลาสติก เพราะภาชนะจากโฟมและพลาสติกจะส่งผลเสียต่อ  น ้าหนักภาชนะพร้อมตัวอย่าง
             ร่างกายสุขภาพของผู้บริโภค จึงมีแนวความคิดในการน าซัง  3.2.4 อบซ ้าจนได้ผลต่างของน ้าหนักที่ชั่งทั้งสองครั้งติดต่อกัน

             ขนุนมาท าเป็นภาชนะรองรับอาหารแทนภาชนะที่ท าจากโฟม  ไม่เกิน 1-3 มิลลิกรัม
             และพลาสติก เพื่อจะลดความเสี่ยงการเกิดโรคและปริมาณขยะ  3.2.5 หาปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน ้าหนัก)

             ที่เป็นลมพิษต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพโดยการน าวัสดุจาก
             ธรรมชาติมาเป็ นวัตถุดิบในการท าภาชนะบรรจุอาหารที่  ผลต่างของน ้าหนักตัวอย่างก่อนอบและหลังอบ (กรัม) x 100
             สามารถกินได้โดยไม่ต้องทิ้ง รวมทั้งช่วยในการอนุรักษ์          น ้าหนักตัวอย่างเริ่มต้น (กรัม)

             สิ่งแวดล้อมด้วย

                                                              3.3 ศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะกินได้
             2. วัตถุประสงค์การวิจัย                          จากซังขนุน โดยใช้วิธี BAM, 2001
                 2.1 เพื่อศึกษาปริมาณซังขนุนที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์
             ภาชนะกินได้จากซังขนุน

                 2.2 เพื่อศึกษาปริมาณความชื้นที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะ  CFU/g = Average no. of colonies X Dilution factor
             กินได้จากซังขนุน
                 2.3 เพื่อศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะ  3.4 ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ภาชนะ

             กินได้จากซังขนุน                                 กินได้จากซังขนุน โดยใช้วิธี 9 point hedonic scaling (ไพโรจน์
                 2.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์  วิริยจารี, 2545) ทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อ

             ภาชนะกินได้จากซังขนุน                            ผลิตภัณฑ์ ใช้ผู้ทดสอบจ านวน 50 คน โดยผู้บริโภคจะได้
                                                              ตัวอย่างผลิตภัณฑ์และก าหนดคะแนนระดับความเชื่อมัน

                                                              ความชอบในแต่ละคุณลักษณะไว้ 9 ระดับความเชื่อมัน (เพ็ญ
                                                              ขวัญ ชมปรีดา, 2536) การวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองและ


                                                              2
                                                                                                              742
   755   756   757   758   759   760   761   762   763   764   765