Page 83 - Full paper สอฉ.3-62
P. 83

แรงดันไม่เหมือนกันต้องดูรายละเอียดแรงดันของ
                                                               ขดลวดได้ที่เนมเพลท หรือคู่มือที่กำหนดมาให้ถ้าเรา

                 รูปที่ 2.1 วารีแอค (Variac)                   จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านตัวเหนี่ยวนำเราจะได้
                 2.2 แมกเนติกคอนแทกเตอร์ (Magnetic             สนามแม่เหล็กรอบเส้นลวด ถ้าเรามีการเปลี่ยนแปลง
                 Contactor)                                    กระแสไฟฟ้า โดยการเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะทำให้เส้น
                   2.2.1  แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic        แรงแม่เหล็กรอบๆเส้นลวดเปลี่ยนแปลงไปด้วย  ซึ่ง

                 Contactor) คืออุปกรณ์สวิทช์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า    การเหนี่ยวนำนี้จะทำให้เกิดแรงดันตกคร่อมที่ตัว
                 เพื่อการ เปิด-ปิด ของหน้าสัมผัส (Contact)     เหนี่ยวนำ ซึ่งเราจะเรียกแรงดันนี้ว่าแรงดันย้อนกลับ
                 ทำงานโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยในการ      (Back Voltage) เพราะว่าทิศทางกระแสที่ได้จาก
                 เปิด-ปิดหน้าสัมผัส ในการตัดต่อวงจรไฟฟ้า เช่น   การเหนี่ยวนำจะตรงข้ามกับกระแสหลักที่จ่ายให้ ตัว

                 เปิด-ปิด การทำงานของวงจรควบคุมมอเตอร์         เหนี่ยวนำ
                 นิยมในวงจรของระบบแอร์, ระบบควบคุมมอเตอร์        2.2.4  สปริง (spring) หมายถึง Coil Spring
                 หรือ ใช้ในการควบคุมเครื่องจักรต่างๆ โดยแมก    เป็นขดลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดต่างๆ ขดเป็น
                 เนติกคอนแทคเตอร์ นั้นจะมีส่วนประกอบหลักที่    วงรูปทรงกระบอก โดยทั่วไปหมายถึงการยืดหดยุบ

                 สำคัญต่อการทำงานได้แก่ แกนเหล็ก, ขดลวด,       หรือขยายตัวของอุปกรณ์เรียกว่าสปริง เช่น สปริง
                 หน้าสัมผัส                                    ของยางยืด (Rubber Spring) เป็นต้น และทำหน้าที่
                   2.2.2  โครงสร้างและส่วนประกอบของแมค         ดันหน้าสัมผัสกลับสู่สภาพเดิมเมื่อหยุดจ่าย

                 เนติกคอนแทกเตอร์ โดยการออกแบบโครงสร้าง        กระแสไฟฟ้าไหลเข้าขดลวด
                 และส่วนประกอบของแมคเนติกคอนแทกเตอร์ไม่
                 ว่าจะเป็นแมคเนติคคอนแทคเตอร์ยี่ห้อใดรุ่นใด      2.2.5  แกนเหล็กเคลื่อนที่ (Movable Core)
                 จะต้องมีโครงหลักที่สำคัญดังนี้                ลักษณะทำด้วยแผ่นเหล็กบางๆ อัดซ้อนกันเป็นแกน
                 2.2.2.1  ขอลวด (Coil)                         ขาทั้งสองข้าง ของแกนเหล็กจะมีลวดตัวนำเส้นใหญ่

                 2.2.2.2  สปริง (spring)                       ต่อลัดวงจรไว้เป็นรูปวงแหวนฝังอยู่บนผิวหน้าของ
                 2.2.2.3  แกนเหล็กเคลื่อนที่ (Movable Core)    แกนเหล็กเพื่อลดการสั่นของแกนเหล็กอัน
                 2.2.2.4  หน้าสัมผัส (Contact)                 เนื่องมาจากไฟฟ้ากระแสสลับเรียกวงแหวนนี้ว่าเช็ด

                 2.2.2.5  แกนเหล็กอยู่กับที่ (Stationary Core)   เด็ดริ่ง (Shaded ring) แกนเหล็ก (Core) แบ่งเป็น
                                                               2 ส่วนดังนี้
                   2.2.3  ขดลวดแมคเนติกคอนแทกเตอร์ (           2.2.5.1  แกนเหล็กอยู่กับที่ (Fixed Core) ทำด้วย
                 Coil Magnetic Contactor ) เป็นขดลวดทำมา       แผ่นเหล็กบางอัดซ้อนกันเป็นแกนจะมีลักษณะเป็น

                 จากลวด ทองแดง ซึ่งแกนกลางสามารถเป็นได้ทั้ง    รูปตัว E ดังภาพที่ 2.5 ขาทั้งสองข้างของแกนเหล็ก
                 อากาศ, เหล็ก โดยการพันเส้นลวดรอบแกนเหล็ก      มีลวดทองแดงเส้นใหญ่ต่อลัดวงจรไว้เป็นรูปวงแหวน
                 เป็นการเพิ่มความแรงของสนามแม่ เหล็ก ซึ่งใน    เรียกวงแหวนนี้ว่าเช็ดเด็ดริ่ง (Shaded Ring) เป็นวง
                 บางครั้งเราจะเรียกตัวเหนี่ยวนำว่าคอยล์ (Coil)   แหวนฝังอยู่ที่ผิวหน้าของแกนเหล็ก เพื่อช่วยลดการ

                 สนาม แม่เหล็กที่ทำด้วยลวดทองแดงเส้นเล็กๆพัน   สั่นสะเทือน ของแกนเหล็ก อันเนื่องมาจากไฟฟ้า
                 รอบบ๊อบบิ้น ส่วนอยู่ตรงกลางแกนเหล็กจะมีขั้ว   กระแสสลับ
                 สำหรับต่อไฟเข้า 2 ขั้วอักษรกำกับคือ A1 - A2
                 หรือ a - b ขดลวดที่ใช้แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ

                 220 โวลท์ แมคเนติคคอนแทคเตอร์บางตัวอาจใช้
                                                              3


                                                                                                                65
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88