Page 79 - Full paper สอฉ.3-62
P. 79
ทางการเรียน รายวิชาการวางแผนและควบคุมการผลิต รหัส ขั้นตอนการวิจัย การด าเนินการทดลองใช้รูปแบบ
วิชา 26-4135-2005 และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของ การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) โดยใช้
นักศึกษา ที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียน E-learning การสร้างและ แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design
พัฒนาแบบทดสอบให้ได้แบบทดสอบที่เป็นมาตรฐาน มี มีขั้นตอนการด าเนินการ ทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาโดยผ่านการพิจารณาจาก 1) การทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ก าหนดให้
ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบความเที่ยงตรง (Validity) โดยพิจารณา กลุ่มเป้าหมาย ท าแบบทดสอบก่อนเรียน ด้วยบทเรียน E-
หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และน าแบบทดสอบที่ได้ไป learning รายวิชาการวางแผนและควบคุมการผลิต เป็ น
ทดลองในภาคสนาม (Try out) ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 กับ แบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จ านวน 90
นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีแม่พิมพ์ ชั้นปี ที่ 2 ที่ไม่ใช่ ข้อ ผู้วิจัยตรวจให้คะแนนการท าแบบทดสอบ และบันทึก
กลุ่มเป้าหมาย 1 : 1 และ 1 : 10 ตามล าดับ ก่อนน าไปใช้จริง กับ คะแนนของนักศึกษาเป็นรายบุคคล
นักศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 2) ขั้นการทดลอง ก าหนดให้กลุ่มเป้าหมายเรียนรู้ด้วย
การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ บทเรียน E-learning รายวิชาการวางแผนและควบคุมการผลิต
ข้อมูลโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป วิเคราะห์ และท าแบบทดสอบระหว่างเรียนท้ายบท จ านวน 9 บทเรียน
ข้อมูล ดังนี้ 1. วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน E- ผ่านบทเรียน E-learning ผู้วิจัยเก็บรวบรวมคะแนนของ
learning รายวิชาการวางแผนและควบคุมการผลิต รหัสวิชา 26- นักศึกษาเป็นรายบุคคล
4135-2005 ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/E2 2. วิเคราะห์ 3) การทดสอบหลังเรียน (Post-test) ก าหนดให้
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาจากการเรียน กลุ่มเป้าหมาย ท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน
ด้วยบทเรียน E-learning รายวิชาการวางแผนและควบคุมการ หลังจากเรียนด้วยบทเรียน E-learning รายวิชาการวางแผนและ
ผลิต รหัสวิชา 26-4135-2005 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ ควบคุมการผลิต ซึ่งเป็นฉบับเดียวกันกับแบบทดสอบก่อนเรียน
วิธีการทดสอบ ล าดับพิสัยวิลคอกซอน 3. วิเคราะห์ข้อสอบโดย ผู้วิจัยตรวจให้คะแนนการท าแบบทดสอบและบันทึกคะแนน
วิธีการหาค่าดัชนีจ าแนก B (B-Index) ใช้โปรแกรมส าเร็จรูป B ของนักศึกษา เป็นรายบุคคล
– Index Win Version 6.5 วิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบ คือ ค่า 4) การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียน
อ านาจจ าแนก (B) ค่าความยากง่ายของข้อสอบ (p) และค่าความ ด้วยบทเรียน E-learning รายวิชาการวางแผนและควบคุมการ
เชื่อมั่น (r ) 4. วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการ ผลิต
cc
เรียนด้วยบทเรียน E-learning รายวิชาการวางแผนและควบคุม 5) ผู้วิจัยรวบรวม น าข้อมูลและคะแนนที่ได้มา
การผลิต โดยน าข้อคิดเห็นในแต่ละข้อ หาค่าเฉลี่ยแล้วเทียบกับ วิเคราะห์ข้อมูลในขั้นตอนต่อไป
เกณฑ์การประเมิน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1. สถิติพื้นฐาน 5. สรุปผลการวิจัย
ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(μ ) ส่วนเบี่ยงเบน จากการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเรื่อง การพัฒนา
มาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หา บทเรียน E-learning รายวิชาการวางแผนและควบคุมการผลิต
คุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่ ค่าความตรงเชิงเนื้อหา (Content รหัสวิชา 26-4135-2005 ส าหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
Validity) ค่าอ านาจจ าแนก (Discrimination) ค่าความเชื่อมั่น สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น
(Reliability) และค่าความยากง่ายของข้อสอบ (p) 3. การ สามารถสรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้
วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน E-learning รายวิชาการ 1) ผลการพัฒนาบทเรียน E-learning รายวิชาการ
วางแผนและควบคุมการผลิต โดยการหาค่า E1/E2 4. สถิติที่ใช้ วางแผนและควบคุมการผลิต รหัสวิชา 26-4135-2005 ที่ผู้วิจัย
ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ ล าดับพิสัยวิลคอกซอน พัฒนาขึ้นในรูปแบบเว็บเพจผ่านทางเว็บไซด์ http://www.jj-
(Wilcoxon Signed Ranks Test) learning.com มีเนื้อหาบทเรียน จ านวน 9 บทเรียน ได้แก่ ระบบ
3
61