Page 24 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 24

14



                        7.  การจัดเวทีประชาคม เปนการพบปะของผูคนที่เปนผูแทนระดับของกลุมตางๆ ใน

               ชุมชนซึ่งผูคนเหลานี้มีขอมูล ประสบการณ ความคิดที่หลากหลาย ไดมารวมกันแลกเปลี่ยน ขอมูล

               ประสบการณ ความคิด เพื่อรวมกันกําหนดวิสัยทัศน วิเคราะห สถานการณ ปญหา วางแผน

               ดําเนินงาน ติดตามประเมินผลการทํางาน รวมกัน เพื่อนําไปสูการพัฒนาชุมชนให สามารถบรรลุ

               เปาหมายรวมกัน สวน เครื่องมือที่สําคัญในการจัดเวทีประชาคม คือ ประเด็น คําถามที่มีลักษณะเปน

               คําถามปลายเปด เพื่อทําใหผูรวมเวทีสามารถตอบและอภิปรายได ละเอียดตาม ความรูความคิดและ

               ประสบการณของแตละคน ทําใหไดคําตอบที่เปนขอมูล เชิงลึก ซึ่งแตเปนประโยชนตอการ

               วิเคราะหขอมูลในแตละดานตอไป





               เรื่องที่ 4   การวิเคราะหขอมูล



                        หลังจากการเก็บขอมูลเสร็จสิ้นแลว ผูเก็บขอมูลควรนําผลจากการจัดเก็บขอมูล ไป

               ตรวจสอบความถูกตองและสมบูรณกับแหลงขอมูลอีกครั้งเพื่อยืนยันความถูกตอง และ เพิ่มเติม

               ขอมูลในสวนที่ยังไมสมบูรณใหสมบูรณมากที่สุด ขั้นตอนถัดมาคือการวิเคราะหขอมูล

                        การวิเคราะหขอมูล เปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวมมาได มาจัดกระทําโดยจําแนก จัดกลุม

               จัดระบบ หมวดหมู เรียงลําดับ คํานวณคาตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป และนําเสนอในรูปแบบ


               ตางๆ ใหสามารถสื่อความหมายได เชน ตาราง แผนภูมิ ภาพ ฯลฯ
                        ขั้นตอนของการวิเคราะหขอมูลชุมชนอาจตองอาศัยผูรูเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลเขามา


               ใหความรวมมือชวยเหลือในการวิเคราะหและเผยแพรขอมูล แตขณะเดียวกัน ประชาชนใน ชุมชน

               ตองมีสวนรวมเขามาแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน



                       กิจกรรม


                        ใหผูเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้

                        1.  เขียนอธิบายตามความเขาใจของผูเรียน


                              1.1  ความหมาย
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29