Page 43 - Prawet
P. 43

47







                       กกกกกกก3. ความสําคัญของมัสยิดยามิอุลอิบาดะห มัสยิดเราะหมาตุลอิสลาม และมัสยิด
                       ซะหรอตุลอิสลามในศาสนาอิสลาม ความสําคัญของมัสยิดไมแตกตางกันในแงสาระสําคัญ เพราะ
                       มัสยิดคือ สถาบันที่อยูควบคูกับชุมชนมุสลิม เมื่อมุสลิมอยูรวมกันเปนกลุม เปนชุมชนที่ไหน ที่นั่นก็
                       ตองมีมัสยิด และที่ใดมีมัสยิดก็บอกไดเหมือนกันวา ที่นั่นมีชุมชนมุสลิม มัสยิดจึงเปนศูนยกลางของ

                       ชุมชนและเปนศูนยรวมของมุสลิม ซึ่ง มัสยิดยามิอุลอิบาดะห มัสยิดเราะหมาตุลอิสลาม และมัสยิด
                       ซะหรอตุลอิสลาม ก็เชนเดียวกัน เปนศูนยรวมของมุสลิมในชุมชนนั้นและละแวกใกลเคียง
                       เนื่องจากการตั้งชุมชนของคนไทยเรา จะใชสถาบันทางศาสนาเปนศูนยกลางของชุมชน ชุมชนมุสลิม
                       จะมีมัสยิดเปนศูนยกลาง และชุมชนพุทธจะมีวัดเปนศูนยกลาง ความผูกพันและความสัมพันธอันลึก

                       ซึ่งที่ชุมชนมีตอสถาบันศาสนา เปนวัฒนธรรมอันสืบสานมาตั้งแตบรรพบุรุษ ตราบถึงปจจุบัน
                       ความสัมพันธดังกลาวนี้มีคุณคาสูงมาก
                       ความเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วของสังคม โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัฒน ซึ่งมีกระแสการเคลื่อนไหวของ
                       ขอมูลและขาวสารที่ฉับไว กวางไกล ไรพรมแดน อาจจะทําลายความสัมพันธระหวางสถาบันศาสนา

                       กับชุมชนไดถาชุมชนใดขาดสถาบันศาสนาเปนศูนยกลาง ความสัมพันธของชุมชนจะขึ้นตรงตอ
                       หนวยงานราชการที่เขาไปรับผิดชอบในดานตาง ๆ ของชุมชน เชน ที่วาการเขตรับผิดชอบงานดาน
                       การปกครอง การพัฒนา สถานีอนามัยรับผิดชอบงานดานสาธารณสุข และสถานีตํารวจรับผิดชอบงาน

                       ดานปราบปราม หนวยงานราชการจะมีความสัมพันธกับชุมชนเพียงผิวเผิน เพราะขาราชการเปน
                       บุคคลภายนอกชุมชน ซึ่งไมมีความสัมพันธทางดานทองถิ่น ขาราชการทํางานตามคําสั่งผูบังคับบัญชา
                       ตามนโยบายของราชการ และไมมีความรับผิดชอบตอชุมชนโดยตรง
                       มัสยิดเปนสถาบันศาสนาอิสลาม มีอิหมามเปนผูบริหาร อิหมามจึงมีฐานะเปนผูนําชุมชน การไดมาซึ่ง
                       อิหมาม เปนการไดมาโดยประชาชนคัดเลือกขึ้นจากชุมชน บุคคลที่ไดรับการคัดเลือกจากประชาชน

                       ยอมเปนบุคคลที่ประชาชนใหความเคารพ นับถือมากอน อิหมามปฏิบัติหนาที่ผูนําชุมชนโดยความ
                       ยอมรับของประชาชน และโดยตัวบทกฎหมาย ประชาชนจะยกยองอิหมามในฐานะผูนําชุมชน มี
                       ปญหาใดเกิดขึ้นกับประชาชน ประชาชนจะมอบใหอิหมามตัดสิน และขอคําปรึกษาจากอิหมาม

                       ความสัมพันธทางทองถิ่นที่มีอิหมามเปนสายใยดังกลาวนี้ นับเปนระบบการปกครองทองถิ่นอันเกิดขึ้น
                       เอง โดยความศรัทธา มิใชโดยการบังคับ และไมขึ้นอยูกับกฎเกณฑที่รัฐจัดตั้งขึ้น ขึ้นอยูกับพลังศรัทธา
                       อันบริสุทธิ์ของประชาชนที่มีอยูกับอิหมามโดยตรง


                       3.1  บทบาทของมัสยิดมีหลายดานและมีแนวทางการดําเนินการสงเสริมวิถีชีวิตของมุสลิม โดยมี

                       แนวทางในดานตาง  ๆ ไดแก


                       3.1.1มัสยิดเปนศูนยกลางการศึกษาอบรมและเผยแผอิสลาม โดยอาจแบง
                       เปนกิจกรรมใหการศึกษาการสอนอานอัลกุลรอานการศึกษา “ภาคฟรดูอีน”การศึกษาศาสนาระดับสูง

                       กิจกรรมการฝกอบรม กิจกรรมหองสมุดชุมชนกิจกรรมเผยแผอิสลาม


                       3.1.2มัสยิดเปนศูนยพัฒนาสังคม มัสยิดนอกจากมีบทบาทในการพัฒนา
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48