Page 102 - Bang rak111
P. 102

95




                                                            บทที่ 6


                                 การใชวิธีการทางประวัติศาสตรและภูมิศาสตรในการศึกษา

                                                    บางรักศึกษานาเรียนรู




                       สาระสําคัญ

                               1. วิธีการทางประวัติศาสตรมี 5 ขั้นตอน คือ (1) กําหนดประเด็นในการศึกษา(2) สืบคน
                       และรวบรวมขอมูล (3) การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตร (4) การคัดเลือกและ
                       ประเมินขอมูล และ (5) การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร
                                 สําหรับการประยุกตใชขั้นตอนวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตรในการศึกษาบางรักศึกษา

                       นาเรียนรู ใหครูผูสอนแนะนําผูเรียนในขั้นตอนการกําหนดประเด็นศึกษา แลวใหไปศึกษาคนควาหา
                       ขอมูล โดยผูเรียนตองประยุกตใชการวิเคราะห และตีความขอมูลทางประวัติศาสตรกับขอมูลที่คนควา
                       ได ตอจากนั้นผูเรียนคัดเลือกและประเมินขอมูลนํามาเปรียบเทียบสรุปการศึกษาคนควาและบันทึกลง

                       ในเอกสารการเรียนรูดวยตนเอง (กรต.) เพื่อนําไปพบกลุมตามที่นัดหมายไวกับครูผูสอน
                               2. วิธีการศึกษาทางภูมิศาสตรในการศึกษาบางรักศึกษานาเรียนรู  มี 4  ขั้นตอน คือ
                       (1)  กําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร  (2)  การเก็บรวบรวมขอมูลดวย
                       การออกปฏิบัติภาคสนามและสัมภาษณ  (3)  นําขอมูลมาวิเคราะหและจัดหมวดหมู และ (4)    สรุป
                       นําเสนอขอมูลและเขียนรายงาน

                                  สําหรับการประยุกตใชขั้นตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร  ในการศึกษาบางรักศึกษา
                       นาเรียนรู ใหครูผูสอนแนะนําผูเรียนในขั้นตอนการกําหนดประเด็นศึกษาแลวใหไปศึกษาคนควาหา
                       ขอมูลโดยผูเรียนตองประยุกตใชดวยการกําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาประเด็นศึกษาที่กําหนด

                       ตอจากนั้นใหไป ณ แหลงเรียนรูในชุมชนหรือแหลงเรียนรูที่ตองศึกษา สัมภาษณ เก็บรวบรวมขอมูล
                       จากผูรู ภูมิปญญา หรือบุคคลที่เกี่ยวของ รวบรวมขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและจัดหมวดหมู สรุปผล
                       การศึกษาคนควาและบันทึกลงในเอกสารการเรียนรูดวยตนเอง (กรต.) เพื่อนําไปพบกลุมตามที่นัด
                       หมายไวกับครูผูสอน




                       ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                               1. บอกวิธีการทางประวัติศาสตรและภูมิศาสตรในการศึกษาบางรักศึกษานาเรียนรูได

                               2. เห็นประโยชนของการใชวิธีการทางประวัติศาสตร และภูมิศาสตรในการศึกษาบางรัก
                       ศึกษานาเรียนรู
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107