Page 103 - Bang rak111
P. 103

96




                       ขอบขายเนื้อหา
                               บทที่ 6 การใชวิธีการทางประวัติศาสตร และภูมิศาสตรในการศึกษาบางรักศึกษานาเรียนรู
                       มีขอบขายเนื้อหาดังนี้

                                      เรื่องที่ 1วิธีการทางประวัติศาสตร
                                      เรื่องที่ 2วิธีการทางภูมิศาสตร



                       สื่อประกอบการเรียน

                               1. ชื่อหนังสือรายวิชาสังคมศึกษา สค31001 ระดับ ม.ปลาย
                       ชื่อผูเขียน ถนัด มวงมณี และ ประยนต ทรัพยเจริญ ป พ.ศ. 2560  โรงพิมพ บริษัทเอกพิมพไทย จํากัด
                               2. บทความเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตรชื่อผูเขียนครูวรรณา ไชยศรี

                       สืบคนจากhttps://wanna500.wordpress.com



                       เรื่องที่ 1  วิธีการทางประวัติศาสตร

                               1. วิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาบางรักศึกษานาเรียนรู มี 5 ขั้นตอน คือ
                                 ขั้นตอนที่ 1  กําหนดประเด็นในการศึกษา
                                 การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตรเริ่มจากความสงสัย อยากรู ไมพอใจกับคําอธิบาย
                       เรื่องราวที่มีมาแตเดิม ดังนั้น ผูศึกษาจึงเริ่มจากการกําหนดเรื่องหรือประเด็นที่ตองการศึกษาซึ่งใน

                       ตอนแรก อาจกําหนดประเด็นที่ตองการศึกษาไวกวางๆ กอนแลวจึงคอยจํากัดประเด็นลงใหแคบ
                       เพื่อใหเกิดความชัดเจนในภายหลัง เพราะบางเรื่องขอบเขตของการศึกษาอาจกวางมากทั้งเหตุการณ
                       บุคคล และเวลาการกําหนดหัวเรื่องอาจเกี่ยวกับเหตุการณ ความเจริญ ความเสื่อมของอาณาจักร ตัว

                       บุคคลในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจยาวหรือสั้นตามความเหมาะสม ซึ่งผูศึกษาเห็นวาเปนชวงเวลาที่
                       สําคัญ และยังมีหลักฐานขอมูลที่ผูตองการศึกษาหลงเหลืออยู หัวขอเรื่องอาจปรับใหมีความเหมาะสม
                       หรือเปลี่ยนแปลงได ถาหากหลักฐานที่ใชในการศึกษามีนอยหรือไมนาเชื่อถือ
                                 ขั้นตอนที่ 2  สืบคนและรวบรวมขอมูล

                                 การรวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของกับหัวขอที่จะศึกษาซึ่งมีทั้ง
                       หลักฐานที่เปนลายลักษณอักษร และหลักฐานที่ไมเปนลายลักษณอักษรหลักฐานทางประวัติศาสตร
                       แบงออกเปนหลักฐานชั้นตนหรือหลักฐานปฐมภูมิกับหลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ
                                 หลักฐานที่ 1หลักฐานชั้นตน (Primary  Sources)  เปนหลักฐานรวมสมัยของผูที่

                       เกี่ยวของกับเหตุการณโดยตรง ประกอบดวยหลักฐานทางราชการทั้งที่เปนเอกสารลับ เอกสารที่
                       เปดเผยกฎหมาย ประกาศ สุนทรพจน บันทึกความทรงจําของผูที่เกี่ยวของกับเหตุการณ หรือ
                       อัตชีวประวัติผูที่ไดรับผลกระทบกับเหตุการณ การรายงานขาวของผูรู ผูเห็นเหตุการณ วีดิทัศน
                       ภาพยนตร ภาพถายเหตุการณที่เกิดขึ้น เปนตน

                                 หลักฐานที่2หลักฐานชั้นรอง (Secondary Sources) เปนหลักฐานที่จัดทําขึ้นโดยอาศัย
                       หลักฐานชั้นตน หรือโดยบุคคลที่ไมไดเกี่ยวของ ไมไดรูเห็นเหตุการณดวยตนเอง แตไดรับรูโดยผาน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108