Page 104 - Bang rak111
P. 104

97




                       บุคคลอื่น ประกอบดวยผลงานของนักประวัติศาสตรหรือหนังสือประวัติศาสตร รายงานของ
                       สื่อมวลชนที่ไมไดรูเห็นเหตุการณดวยตนเอง
                                 ทั้งหลักฐานชั้นตนและหลักฐานชั้นรองจัดวามีคุณคาแตกตางกัน คือ หลักฐานชั้นตนมี
                       ความสําคัญมาก เพราะเปนหลักฐานรวมสมัยที่บันทึกโดยผูรูเห็น หรือผูที่เกี่ยวของกับเหตุการณ

                       โดยตรง สวนหลักฐานชั้นรองเปนหลักฐานที่ทําขึ้นภายหลังโดยใชขอมูลจากหลักฐานชั้นตน แต
                       หลักฐานชั้นรองจะชวยอธิบายเรื่องราวใหเขาใจหลักฐานชั้นตนไดงายขึ้น ละเอียดขึ้นอันเปนแนวทาง
                       ไปสูหลักฐานขอมูลอื่นๆ ซึ่งปรากฏในบรรณานุกรมของหลักฐานชั้นรองทั้งหลักฐานชั้นตนและชั้นรอง
                       สามารถคนควาไดจากหองสมุดทั้งของทางราชการ และของเอกชน ตลอดจนฐานขอมูลในเครือขาย

                       อินเทอรเน็ต (Social Network)
                                 ขั้นตอนที่ 3  การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตร

                                  เปนการประเมินความถูกตองและความสําคัญของหลักฐาน เพราะหลักฐานบางอยาง
                       อาจเปนของปลอม หรือเลียนแบบของเกา หรือเขียนโดยบุคคลที่ไมไดรูเห็นเหตุการณโดยตรงแลวมา
                       บันทึกไวเสมือนไดรูเห็นเองหรือแมจะรูเห็นเหตุการณโดยตรงแตอาจมีความลําเอียงเขาขางฝายใดฝาย

                       หนึ่งไมวางตัวเปนกลาง
                                  การวิเคราะหหลักฐานแบงเปน2วิธี ดังนี้
                                  วิธีที่ 1การประเมินภายนอก  เปนการประเมินหลักฐานจากสภาพที่ปรากฏภายนอกวา
                       เปนของแทถูกตองตามยุคสมัยหรือไมเชนกระดาษที่บันทึกเปนของเกาจริงหรือไม สมัยนั้นมีกระดาษ
                       แบบนี้ใชหรือยัง วัสดุที่ใชเขียนเปนของรวมสมัยหรือไม

                                  วิธีที่ 2การประเมินภายในเปนการประเมินหลักฐานวาถูกตองทั้งหมดหรือไม เชนการ
                       กลาวถึงตัวบุคคลสถานที่ เหตุการณวาถูกตอง มีจริงในยุคสมัยของหลักฐานนั้นหรือไมหรือแมแต
                       สํานวนภาษาวาในสมัยนั้นใชกันหรือยัง

                                  ขั้นตอนที่ 4  การคัดเลือกและประเมินขอมูล
                                 เมื่อทราบวาหลักฐานนั้นเปนของแท ใหขอมูลที่เปนขอเท็จจริงหรือความจริงใน
                       ประวัติศาสตร ผูศึกษาประวัติศาสตรก็จะตองศึกษาขอมูลหรือขอสนเทศในหลักฐานนั้นวาให ขอมูล
                       ทางประวัติศาสตรอะไรบาง ขอมูลนั้นมีความสมบูรณเพียงใด หรือขอมูลนั้นมีจุดมุงหมายเบื้องตน
                       อยางไร มีจุดมุงหมายแอบแฝงหรือไม ขอมูลมีความยุติธรรมหรือไม จากนั้นจึงนําขอมูลทั้งหลายมาจัด

                       หมวดหมู เชน ความเปนมาของเหตุการณ สาเหตุที่ทําใหเกิดเหตุการณความเปนไปของเหตุการณ ผล
                       ของเหตุการณ เปนตนเมื่อไดขอมูลเปนเรื่อง เปนประเด็นแลว ผูศึกษาประวัติศาสตรเรื่องนั้นก็จะตอง
                       หาความสัมพันธของประเด็นตางๆ และตีความขอมูลวามีขอเท็จจริงใดที่ซอนเรน อําพราง ไมกลาวถึง

                       หรือในทางตรงกันขามอาจมีขอมูลกลาวเกินความเปนจริงไปมาก
                                 ขั้นตอนที่ 5  การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร
                                 การเรียบเรียงหรือการนําเสนอจัดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการทางประวัติศาสตร ซึ่งมี
                       ความสําคัญมาก โดยผูศึกษาประวัติศาสตรจะตองนําขอมูลทั้งหมดมารวบรวมและเรียบเรียงหรือ

                       นําเสนอใหตรงกับประเด็นหรือหัวเรื่องที่ตนเองสงสัย ตองการอยากรูเพิ่มเติม ทั้งจากความรูเดิมและ
                       ความรูใหม รวมไปถึงความคิดใหมที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งเทากับเปนการรื้อฟนหรือจําลอง
                       เหตุการณทางประวัติศาสตรขึ้นมาใหม อยางถูกตองและเปนกลางในขั้นตอนการนําเสนอ ผูศึกษาควร
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109