Page 105 - Bang rak111
P. 105
98
อธิบายเหตุการณอยางมีระบบและมีความสอดคลองตอเนื่อง เปนเหตุเปนผล มีการโตแยงหรือ
สนับสนุนผลการศึกษาวิเคราะหแตเดิม โดยมีขอมูลสนับสนุนอยางมีน้ําหนัก เปนกลาง และสรุป
การศึกษาวาสามารถใหคําตอบที่ผูศึกษามีความสงสัย อยากรูไดเพียงใด หรือมีขอเสนอแนะใหสําหรับ
ผูที่ตองการศึกษาตอไปอยางไรบาง
กลาวโดยสรุปวิธีการทางประวัติศาสตรมี 5 ขั้นตอน คือ (1) กําหนดประเด็นใน
การศึกษา(2)สืบคนและรวบรวมขอมูล(3) การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตร(4)การ
คัดเลือกและประเมินขอมูล และ (5) การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร
สําหรับการประยุกตใชขั้นตอนวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตรในการศึกษาบางรักศึกษา
นาเรียนรู ใหครูผูสอนแนะนําผูเรียนในขั้นตอนการกําหนดประเด็นศึกษา แลวใหไปศึกษาคนควาหา
ขอมูล โดยผูเรียนตองประยุกตใชการวิเคราะห และตีความขอมูลทางประวัติศาสตรกับขอมูลที่คนควา
ได ตอจากนั้นผูเรียนคัดเลือกและประเมินขอมูลนํามาเปรียบเทียบสรุปการศึกษาคนควาและบันทึกลง
ในเอกสารการเรียนรูดวยตนเอง(กรต.) เพื่อนําไปพบกลุมตามที่นัดหมายไวกับครูผูสอน
เรื่องที่2 วิธีการทางภูมิศาสตร
2.1 กําหนดวัตถุประสงคในการศึกษาวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตรจะมุงเนนความ
เขาใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องตน เปนการศึกษารายละเอียดของเหตุการณที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้นๆ
โดยเฉพาะ ซึ่งจะใชในการศึกษานี้พิจารณาวา “มีสิ่งใดบางที่เปนสาเหตุทําใหเกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และ
แตละสิ่งมีคามเกี่ยวของสัมพันธกันอยางไร” โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกลาววาเปนการสรางความ
เขาใจเกี่ยวกับปฏิสัมพันธเชิงภูมิศาสตร ภายใตสภาวะตางๆ ที่ทําใหเกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิด
ปรากฏการณพิเศษในพื้นที่นั้นๆ ขึ้น และถือวาเปนปรากฏการณทางภูมิศาสตรที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลาย
ลักษณะ
2.2 การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการออกปฏิบัติภาคสนามและสัมภาษณ
การออกภาคสนาม คือ การสํารวจพื้นที่จริง เพื่อศึกษาหรือเก็บขอมูลตางๆ ตาม
วัตถุประสงคประโยชนของการออกภาคสนาม มีดังนี้
ขอ 1 ผูศึกษาไดเห็นสภาพจริงของพื้นที่และไดศึกษาสภาพปรากฏการณตางๆ ที่
เกิดขึ้นจริง
ขอ 2 ผูศึกษาไดศึกษา “เชิงเปรียบเทียบ” เพื่อผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู เชน
ศึกษาในปรากฏการณทางภูมิศาสตรเรื่องเดียวกัน แตในพื้นที่และเวลาตางกัน หรือในพื้นที่เดียวกันแต
ตางเวลากัน เปนตน เพื่อนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบใหเห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางชัดเจน
การสัมภาษณ เปนการเก็บขอมูลภาคสนามอีกวิธีหนึ่ง ที่เรียกวา “งานสนาม”
ชวยใหการศึกษาทางภูมิศาสตรครบสมบูรณยิ่งขึ้นมีหลักเกณฑ ดังนี้
ขอ 1ผูสัมภาษณ ตองมีความรับผิดชอบตอหนาที่ เชน บันทึกขอมูลตามความเปน
จริง ไมตอเติมหรือบิดเบือน ตองใหเกียรติแกผูใหสัมภาษณ เพื่อใหไดรับความรวมมืออยางมากที่สุด