Page 13 - Bang rak111
P. 13
6
มวลชนกรุงเทพ (Bangkok Transit System : BTS) และรถโดยสารประจ้าทาง ประเพณีส้าคัญ
ของชุมชนชาวคริสต์ คือ วันคริสต์มาสจะจัดขึ้นในวันที่ 25 ธันวาคม ของทุกปี ส่วนวัฒนธรรมที่ส้าคัญ
ด้านการแต่งกาย ชาวคริสต์ส่วนใหญ่จะแต่งกายตามแบบประเพณีนิยมตามแบบตะวันตก และ
อาหารชาวคริสต์ในเขตบางรักจะรับประทานอาหารแบบชาวตะวันตก รับประทานขนมปัง สเต็ก และ
อาหารไทยที่รสไม่จัด ส่วนขนมหวานก็จะเป็น คริสต์มาสพุดดิ้ง
3.4 รายชื่อชุมชนชาวฮินดูหรือแขก มี 2 ชุมชน คือ ชุมชน ซอยไวตี และชุมชนศรีเวียง
การเดินทางโดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ ( Bangkok Transit System : BTS)รถโดยสารประจ้า
ทางและท่าเรือสาทร ประเพณีส้าคัญของชุมชนชาวฮินดูหรือแขก คือ เทศกาล “ดุซเซห์รา” หรือ
“นวราตรี”ในรอบ 1 ปีจะมีเพียงครั้งเดียว ซึ่งในระยะเวลา9 คืนจะมีการบูชาพระแม่ทุรคาและพระแม่
ปารวตีในปางต่างๆ จ้านวน 9 ปาง และ วัฒนธรรมที่ส้าคัญของชุมชนชาวฮินดูหรือแขก
ด้านการแต่งกาย “พราหมณ์ฮินดู ”นุ่งห่มผ้าสีขาว เกล้ามวยและเจิมหน้าผาก และอาหาร ชาวฮินดู
ส่วนมากเป็นมังสวิรัติ เช่น ถั่ว งา นม เนย ถ้าเนื้อสัตว์ก็บริโภคปลา ไก่และแกะ
4. บทที่ 4 สถานที่ส้าคัญทางเศรษฐกิจของบางรักศึกษาน่าเรียนรู้
4.1 ถนนสี ลม (Thanon Si Lom) สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 อันเป็นยุคเริ่มต้นการปฏิรูปประเทศ ให้เจริญก้าวหน้าไปในแนวทางเดียวกันกับ
นานาอารยประเทศ ซึ่งมีชาติตะวันตกเป็นแบบแผนถนนเดิมเรียกชื่อว่า “ถนนขวาง” เดิมเป็นคันดินที่
เกิดจากการขุดคลองเพื่อเชื่อมคลองบางรักกับคลองถนนตรงคันดินจึงกลายเป็นถนนที่เรียกว่าถนน
ขวางเนื่องจากบริเวณนี้มีพื้นที่คลองอยู่ เป็นจ้านวนมาก ชาวต่างประเทศได้น้าเครื่องสีลม หรือ กังหัน
ลม ซึ่งใช้ส้าหรับการวิดน้้า มาติดตั้งที่ถนนขวาง โดยที่บริเวณทั่วไปยังเป็นทุ่งนาโล่ง เครื่องสีลมวิดน้้า
จึงดูเด่น จนกลายเป็นสัญลักษณ์และชื่อเรียกของถนนมาถึงปัจจุบัน ด้านอาคารพาณิชย์ มี 8 แห่ง
ส่วนด้านอาคารสถานที่ราชการ มี 4 แห่ง และปัจจุบันถนนสีลมเป็น
แหล่งเศรษฐกิจ มีถนนสีลมเป็นถนนธุรกิจสายส้าคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีผู้ขนานนามถนน
สีลมว่า “วอลล์สตรีตของกรุงเทพมหานคร”
4.2 ถนนสี่พระยา (Thanon Si Phraya) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตบางรัก
กรุงเทพมหานครถือเป็นถนนสายรองของพื้นที่เป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่
4มีจุดเริ่มต้นที่แขวงสี่พระยา บริเวณหน้าโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ไป
สิ้นสุดที่แยกสามย่านบริเวณหน้าวัดหัวล้าโพงอันเป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 4ได้ร่วมกันซื้อที่ดิน
ระหว่างถนนสุรวงศ์กับคลองผดุงกรุงเกษมและสร้างผ่านที่ดินเชื่อมต่อกับถนนเจริญกรุง คือวัดหัว
ล้าโพงไปตกท่าน้้า คือท่าน้้าสี่พระยาพระยาทั้ง 4 คนได้น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า
“ถนนสี่พระยา” เมื่อปี พ.ศ. 2449 ด้านอาคารพาณิชย์ ส่วนใหญ่เป็นอาคารชุด ที่พักอาศัย มีมากกว่า
60 แห่ง ส่วนด้าน อาคารสถานที่รา ชการศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 23 ปัจจุบันถนนสี่พระยาเป็น
แหล่งเศรษฐกิจเป็นที่ตั้งของบริษัทห้างร้านใหญ่ ๆ หลายแห่ง และยังมีบ้านเรือนของชาวต่างประเทศ
โดยเฉพาะชาวตะวันตกอีกมากด้วย ซึ่งปัจจุบันหลายหลังก็ยังปรากฏอยู่
4.3 ถนนสุรวงศ์ (ThanonSurawong) เป็นถนนในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์เข ตบางรัก
กรุงเทพมหานครเชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 4เป็นถนนคู่ขนานกับถนนสีลมและ