Page 25 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 25

  คุณคณาทัต จันทร์ศิริ
   ใคร ใคร ก็ ไอซีเอส : ICS
(Incident Command System)
 ผมต้องขอย่ําเท้อยู่กับที่ในขั้นตอนที่ 2 ขณะ เกิดเหตุ (In the event of Fire) อีกฉบับนะครับ เพระมีท่นผู้อ่นถมมว่ ขณะเกิดเหตุนั้น เขา มีระบบบัญชาการกันอย่างไร เห็นพูดกันแยะว่ ใช้ ระบบ ICS!!!
 ผมขออธิบายสั้นๆ อย่างนี้...
ระบบการบญัชาการในเหตกุารณ์ICSIncident Command System คอื เครอ่ื งมอื ทเ่ี ปน็ ระบบ ทใ่ี ช้ ในการสั่งการ (Command), ควบคุม (Control), ประสานงาน (Coordination) ในภาวะฉกุ เฉนิ และ ไมฉ่ กุ เฉนิ เพอ่ื กาํา จดั สาเหตุ คมุ เขตลกุ ลาม ลดความ สูญเสีย โดยใช้โครงสร้างหลัก 4P-SHE (สี่พี-ชี) : Policy นโยบาย, Person บุคลากร, Place & Equipment อาคารสถานทแ่ี ละอปุ กรณ์ , Practice & Knowledge ฝึกอบรมและองค์ความรู้ (ผู้ปฏิบัติ งาน คือ “ทีมฉุกเฉิน” ERT Emergency Response Team ซึ่งต้องจัดให้มีในทุกพื้นท่ี)
ระบบ ICS เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก และถูกนําาไป ปรับปรุง พัฒนา ให้เหมาะสมกับภารกิจ ของคน ในทุกประเทศ โดยมีประวัติย่อๆ คือ
ประวัติความเป็นมาของระบบ ICS
ระบบ ICS ได้ถูกนําามาหารือ เม่ือปี ค.ศ. 1968 ในการประชุม Phoenix AZ meeting of Fire Chiefs และได้พบว่าในเบ้ืองต้น ICS ได้ถูกนําา ไปใช้ในหลายหน่วยงานในสหรัฐอเมริกา เช่น US Navy หน่วยงานควบคุมไฟป่าของรัฐ California และรัฐ Arizona
ในช่วงปี ค.ศ. 1970 ICS ได้รับการพัฒนา อยา่ งเตม็ ท่ี หลงั จากเหตกุ ารณไ์ ฟปา่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในรฐั
16
California และ Arizona ที่เป็นสาเหตุ ให้เกิด ความเสียหายอย่างใหญ่หลวง มีผู้เสียชีวิตและ บาดเจ็บเป็นจําานวนมาก รวมท้ังทรัพย์สินเสียหาย มากมายมหาศาล จากการสอบสวน และค้นหา สาเหตุพบว่า เกิดจากปัญหาเร่ือง
1. การติดต่อส่ือสาร Communication 2. การบริหารจัดการขณะเกิดเหตุ
Management deficiencies
3. การขาดทรัพยากร เครื่องไม้เครื่องมือ
Lack of Resources
4. ความล้มเหลวของกลยุทธ์
Failure of Tactics
และต่อมา ICS ภายใต้ “California’s Stan-
dardized Emergency Management System”
ระบบมาตรฐานการบรหิ ารภาวะฉกุ เฉนิ (SEMS) ได้ ถูกนําามาใช้ในการบัญชาการเหตุการณ์เพลิงไหม้, เหตอุ าชญากรรมตา่ งๆ รวมทง้ั อบุ ตั ภิ ยั ทกุ ประเภท
ที่สําาคัญ ICS ได้ถูกนําามาใช้กับเหตุการณ์ก่อ การร้ายตึก Twin Towers ในเมือง New York ครั้งแรก เม่ือปี ค.ศ. 1990
ในปี ค.ศ. 2003 SEMS ถูกนําามากําาหนดเป็น ข้อบัญญัติใน Homeland Security Presidential Directive 5(HSPD5) ที่บังคับใช้ในรัฐบาลกลาง (Federal) มลรัฐ (State) และท้องถิ่น (Local agencies) โดยเป็นที่รู้กันโดยท่ัวไปว่าระบบ NIMS
หรือ The National Incident Management System(ระบบการบรหิารเหตกุารณฉ์กุเฉนิแหง่ชาต)ิ ให้นําามาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการภาวะ ฉุกเฉินอย่างกว้างขวาง โดยได้รับงบประมาณจาก รัฐบาลกลาง
งบประมาณดังกล่าวได้ถูกนําามาใช้ในการ อบรมใหก้บัผปู้ระสบเหตกุารณฉ์กุเฉนิ เปน็กลมุ่แรก (First Responder) ให้รู้-เข้าใจ และสามารถปฏิบัติ ตาม ICS ได้ โดยรวมถึงภยันตรายจากสารมีพิษ (HAZMAT) ภายใต้คําาสั่ง “29CFR 1910.120(Q)” ซง่ึ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน OSHA ICS Program ระบบการบริหารเหตุการณ์ฉุกเฉินแห่งชาติ หรือ MIMS ได้ถูกนําามาใช้อย่างจริงจังในเหตุการณ์ก่อ การร้ายตึกเวิลด์เทรด กรุงนิวยอร์ค คร้ังท่ี 2 เมื่อ 11 กันยายน 2001 (9.11)
จุดอ่อนในการจัดการภาวะฉุกเฉินมักมี สาเหตุดังต่อไปน้ี
1. ไม่เข้าใจในความต่อเนื่องของการบัญชา การ “ห่วงโซ่ส่ังการ” (Chains of Command) จึง ขาดความรับผิด
ชอบในการส่ังการ (Command) การกําากับ ดูแล (Control) และการประสานงาน (Coordina-
tion)
2. การสื่อสารที่ล้มเหลว ทั้งอุปกรณ์, ระบบ
  ISSUE2.VOLUME22.AUGUST-OCTOBER2015
                  ี
ภ
ม
ั
ร
์
อ
ค
ั
ค
ค
ี
ภ
ั
ย


























































   23   24   25   26   27