Page 26 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 26

  อกี ทง้ั ภาษา และรหสั ทข่ี ดั แยง้ ไมไ่ ปในทศิ ทางเดยี ว
กัน
3. ขาดความมรี ะเบยี บ วนิ ยั และการวางแผน
อย่างมีระบบ
4. ขาดการวางแผนร่วมของหน่วยงานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องในขณะเกิดเหตุ ทําาให้การปฏิบัติงานไร้ ประสิทธิภาพ
พื้นฐาน (Basic)
ตัวอย่างการใช้ ICS ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ต่างๆ
1. สถานการณ์ทางการแพทย์ฉุกเฉิน (Ambulance Service)
2. การร่ัวไหลของสารมีพิษ (Hazmat Spills) 3. การโจมตีของผู้ก่อการร้าย
(Terrorist Attacks)
4. ภัยธรรมชาติ (Natural Disasters) อาทิ
ไฟป่า นํา้าท่วม แผ่นดินไหว พายุ สึนามิ ฯลฯ
5. ภัยพิบัติที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made Disasters) เชน่ อบุ ตั เิ หตบุ นทอ้ งถนน, อบุ ตั เิ หตใุ น งานอุตสาหกรรม, อุบัติเหตุคมนาคมอ่ืนๆ รถไฟ
เรือ เครื่องบิน และอัคคีภัยในอาคารสถานที่
6. ใช้ในการค้นหาและช่วยชีวิต (Search &
Rescue Operations)
7. วิกฤตตัวประกัน (Hostage Crisis)
8. วกิ ฤตทางเทคโนโลยี (Technological Crisis)
หรือ สาธารณูปโภคขัดข้อง
งานพิธีต่างๆ Events
ICSไดถ้กูนาํามาใชใ้นการจดังานพธิตีา่งๆเพอ่ื ความพร้อม รองรับเหตุฉุกเฉิน หรือแม้ไม่ฉุกเฉิน ก็ตาม เช่น
• ในการแสดงคอนเสิร์ต
• ขบวนพาเหรด และพิธีอ่ืนๆ
• งานแสดงสินค้า หรือการชุมนุมอื่นๆ
• การออกกําาลังกาย เล่นกีฬา หรือการฝึก
อบรม
แนวคิดหลัก (Key Concepts)
1. การสั่งการที่มีเอกภาพ (Unity of Com- mand)
ทุกๆ คนที่ร่วมปฏิบัติงาน ต้องมีสายการ บังคับบัญชาท่ีชัดเจน เพื่อรับคําาสั่ง และรายงาน ย้อนกลับสู่หัวหน้า
คนเดียว เพื่อป้องกันการส่ังการที่ซํา้าซ้อนข้าม ภารกิจ หรือขัดแย้งกัน และนี่คือแนวคิดพื้นฐาน ของโครงสร้าง “ห่วงโซ่สั่งการ” ICS
2. การใช้ศัพท์ภาษาในการสื่อสารท่ีง่ายต่อ ทุกคน (Common Terminology)
หน่วยงานที่เข้าร่วมปฏิบัติการในเหตุการณ์ ฉกุ เฉนิ มหี ลากหลายทง้ั ภายในองคก์ รและภายนอก ซึ่งจะต้อง
สอ่ื สารกนั ใหม้ คี วามเขา้ ใจชดั เจน “กระชบั รบั รู้ รวดเร็ว” ICS จึงต้องมีข้อตกลงในการใช้คําาศัพท์ ภาษาตา่ งๆ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตรงกนั มากทส่ี ดุ รวม ท้ังส่ือสัญลักษณ์อื่นๆ ด้วย เช่น ช่ือเรียกตําาแหน่ง ชื่อเรียกทีม สีเสื้อ หรือปลอกแขน ธง พื้นที่ต่างๆ ตามแผน ฯลฯ
3. การจดั การทม่ี งุ่ สวู่ ตั ถปุ ระสงค์ (Manage- ment by Objective)
ทกุ ๆ เหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ ตอ้ งบรหิ ารจดั การ โดย เล็งไปท่ีวัตถุประสงค์เลือกจัดการตามลําาดับความ สําาคัญ มุ่งเน้นสัมฤทธิผล และต้องมีกรอบเวลา โดยเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม
4. มกี ารบญั ชาการทย่ี ดื หยนุ่ อยา่ งครอบคลมุ (Flexible and Modular Organization)
ในโครงสรา้ งการบญั ชาการในเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ ขององคก์ ร ตอ้ งสามารถรองรบั เหตกุ ารณท์ เ่ีกดิ ขน้ึ ได้ ตง้ั แตข่ นาดเลก็ จนขยายตวั ลกุ ลามไปเปน็ ขนาด ใหญ่ มีภยันตรายในทุกรูปแบบ โดยที่บุคลากร ตามแผนที่กําาหนดไว้สามารถปฏิบัติการได้อย่าง ครอบคลมุ ตามมาตรฐาน โดยมหี ลกั วา่ “ใครถงึ กอ่ น จดั การกอ่ น” (Incident Command is established by the first arriving unit) และคําานึงถึงแนวทาง ปฏิบัติ 3 ข้อ คือ
1. กําาจัดสาเหตุ
2. คุมเขตลุกลาม
3. ลดความสูญเสีย
และเมอ่ื เหตกุ ารณไ์ ดข้ ยายทง้ั ระยะเวลา ขนาด
ของความรุนแรง และภาวะอันตราย ผู้รับผิดชอบ หรือผู้บัญชาการ ก็จะต้องมีมากข้ึน มีระดับสูงขึ้น ตามไปด้วย
• โดยทั่วไป ICS ที่เต็มรูปแบบตามแผน และบุคลากร จะมีให้เห็นในเหตุการณ์ท่ีใหญ่และ ซับซ้อนจริงๆ เท่าน้ัน
• และเม่ือเหตุการณ์สงบลง การบัญชาการ จะส่งต่อย้อนกลับจากใหญ่ลดลงไปจนเหลือหน่วย เล็กที่สุด ที่จุดรับผิดชอบแรกเริ่ม
ตวั อยา่ งการจดั บคุ ลากรตาม ICS ในโรงพยาบาล หรือในโรงงานอุตสาหกรรม ท่ีมีเจ้าหน้าท่ีไม่เกิน 1 หม่ืนคน จะแบ่งเป็น 6 ทีม ที่ครอบคลุมงานหลัก 4 ส่วน คือ
1. การวางแผน (Planning)
2. การปฏิบัติการหน้างาน (Operation) 3. การสนับสนุน (Logistic)
4. การบริหารจัดการ และการเงิน
(Administration & Financial)
ทีมทั้ง 6 คือ
1. ทีมบัญชาการและอําานวยการ
(Command & Directing) 2. ทีมเช็คชีวิต-ติดต่อ
(Evacuation & Communication) 3. ทีมช่างฉุกเฉิน (Engineering)
4. ทีมเผชิญเหตุ-ดับเพลิง-กู้ภัย
(SRRT-Firefighting-Rescue) 5. ทีมเคล่ือนย้ายทรัพย์สิน-กู้ชีพ
(Resource & Medical) 6. ทีมรักษาความสงบ-จราจร
(Security & Traffic)
ซึ่งควรกําาหนดภารกิจตามทีมเหล่านี้ให้ทุกๆ คน ในทุกๆ พ้ืนที่ ทําาหน้าท่ีให้ได้ในยามเกิดเหตุ ฉุกเฉินซ่ึงแน่นอนว่า...จะต้องมีการอบรมและฝึก ซ้อมโดยหน่วยงานท่ีมีความเช่ียวชาญ และได้รับ อนุญาตจากทางราชการ
ผมมาขอเพิ่มเติม เร่ือง ICS ในฉบับน้ี ก็ เพราะว่าท่านผู้อ่านหลายๆ ท่านถามมา และเป็น เรื่องสําาคัญที่ปัจจุบันนี้ ใครไม่รู้....อายเพื่อนแย่ เลยครับ...!
     ISSUE2.VOLUME22.AUGUST-OCTOBER2015
17
ส่วนตัวผู้เขียน
 นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA และสมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับเพลิง และกู้ภัย แห่งเอเซีย
                  ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ

























   24   25   26   27   28