Page 51 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 51

  ณ อาคารเกรนเฟลล์ ทาวเวอร์ (Grenfell Tower) ย่านนอร์ทเคนซิง ตัน มีห้องชุด 120 ห้อง สูง 24 ชั้น 20 ชั้นเป็นท่ีพักอาศัย 4 ช้ันเป็นพ้ืนท่ี ส่วนกลาง
มีการปรับปรุงใหญ่ทั้งอาคาร จนแล้วเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 2016
เหตุเกิดประมาณ 01.00 น. ของวันที่ 14 มิถุนายน 2017
ผู้รอดชีวิตท่ีอยู่ในเหตุการณ์ ยืนยันว่าต้นเพลิงเกิดจาก “ตู้เย็น ระเบิด” บนช้ัน 4 ของอาคาร โดยนายบีไฮลู เคบีดี เจ้าของห้อง ซึ่งมี อาชีพขับแท็กซี่ ได้โทร. แจ้งเจ้าหน้าที่ทันทีที่รู้ว่าเกิดเหตุโดยรถดับเพลิง มาถึงในเวลาเพียง 6 นาที
นายบ๊อบ พาร์กิน อดีตพนักงานดับเพลิงที่ผันตัวไปเป็นท่ีปรึกษา ด้านความปลอดภัยกล่าวว่า โดยปกติเมื่อนักผจญเพลิงไปถึงที่เกิดไฟ ไหม้ก็จะต้ังฐานปฏิบัติการอยู่ใต้ช้ันที่เกิดเหตุประมาณ 2 ช้ัน ซึ่งจะช่วย ให้พวกเขาสามารถต้ังจุดควบคุมการเข้าไปยังพ้ืนที่ไฟไหม้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพ่ือให้สามารถบันทึกข้อมูลผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงาน และที่ สําาคัญคือจะมีการตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยหายใจ
เพ่ือให้ทราบแน่ชัดว่าพวกเขาสามารถเข้าไปปฏิบัติการในพื้นที่ ประสบภัยได้นานเพียงใด
ระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่แต่ละคนสามารถใช้ในการเข้าไปดับไฟนั้นถูก จําากัดโดยปริมาณอากาศที่มีอยู่ในชุดหน้ากากกันควันพิษแบบมีถังอัด อากาศ (SCBA) ดังน้ันแต่ละนาทีที่พวกเขาใช้ระหว่างที่ข้ึนไปบนอาคาร สูงจึงเป็นการสูญเสียเวลาที่มีค่าย่ิง
เม่ือเจ้าหน้าท่ีเข้าไปในพื้นที่ไฟไหม้แล้ว สิ่งสําาคัญที่ต้องคําานึงถึงคือ หากมีข้อมูลว่า ยังมีคนติดอยู่ในอาคาร
ภารกิจแรกก็คือการมุ่งให้ความช่วยเหลือคนเหล่าน้ีก่อน“การ ดับไฟ”
ด้วยเหตุนี้นักดับเพลิงจึงพกอุปกรณ์ให้น้อยที่สุดเพื่อให้สามารถช่วย เหลือหรือแบกผู้ประสบภัยออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อย่างไรก็ตาม กรณีของเหตุไฟไหม้ท่ีอาคารเกรนเฟลล์ ทาวเวอร์ แสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ท่ียากลําาบากมากในการปฏิบัติหน้าที่ของ
20
พนักงานดับเพลิง เพราะไฟลุกลามไปรวดเร็วมากจนโหมไหม้อาคาร แทบท้ังหลัง
นายพาร์กิน บอกว่า การขึ้นไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยบนอาคารชั้น ท่ี 20 ในสถานการณ์เช่นนี้เป็น "เรื่องยากอย่างเหลือเชื่อ" เพราะการไม่มี อากาศสําารองไว้ให้ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือนั้นทําาให้การเดินทางออกจาก อาคารเป็นเร่ืองอันตรายอย่างยิ่ง
นอกจากนี้หน่วยดับเพลิงยังต้องทําางานจากอาคารชั้นที่อยู่ต่ําามาก ด้วย เนื่องจากลักษณะของไฟที่ลุกลามตึกเกรนเฟลล์ ทาวเวอร์
การออกแบบและก่อสร้างอาคารช่วยรักษาชีวิต
ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นความปลอดภยั จากอคั คภี ยั หลายคนชว้ี า่ แผน่ ตกแตง่ ผนังอาคารด้านนอกน่าจะเป็นสาเหตุที่ทําาให้ไฟลุกลามไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ช้ันที่สูงขึ้นไป มีอันตรายมากข้ึน และเช่ือว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น จําานวนมาก
บริษัท Tenable Dubai ผู้เช่ียวชาญด้านวิศวกรรมป้องกันอัคคีภัย ระบุว่า เหตุเพลิงไหม้อาคารระฟ้า "เดอะทอร์ช" ในนครรัฐดูไบ สหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ (UAE) ทั้งสองครั้ง คือ 21 กุมภาพันธ์ 2015 และวันท่ี 4 สิงหาคม 2017 (หลังจากเหตุการณ์เพลิงไหม้ Glenfell) ไฟก็ลุกลามจาก แผ่นตกแต่งผนังอาคารด้านนอกเช่นกัน แต่เหตุไฟไหม้ ไม่ทําาให้มีผู้เสีย ชีวิตเพราะตัวอาคารถูกออกแบบให้เอื้อต่อการทําางานของเจ้าหน้าที่ดับ เพลิง และให้ผู้อยู่ในอาคารอพยพออกไปตามเส้นทางหนีไฟที่ปลอดภัย จากควันและเปลวไฟ นายแซม อัลค็อก ผอ. Tenable Dubai บอกว่า
"ในความเห็นของผม การออกแบบและการก่อสร้างอาคาร คือสิ่งที่ ช่วยรักษาชีวิตผู้คน"
เหตุเพลิงไหม้อาคาร "เดอะทอร์ช" ในดูไบ เมื่อ 2 ปีก่อน ไฟก็ ลุกลามจากแผ่นตกแต่งผนังอาคารด้านนอกเช่นกัน
ข้อแนะนําาให้อยู่ในห้องพักขณะเกิดเหตุไฟไหม้
ผู้อยู่ในตึกเกรนเฟลล์ ทาวเวอร์ เล่าว่าก่อนหน้านี้พวกเขาได้รับคําา แนะนําาให้อยู่ภายในห้องพักกรณีที่เกิดไฟไหม้ อย่างไรก็ตาม อิคห์วาน ราซาลี วิศวกรด้านป้องกันอัคคีภัยของ Tenable Dubai ระบุว่า
"คุณสามารถแนะนําาให้ผู้ประสบภัยอยู่ในห้องพักได้หากอาคารมี ระบบดับเพลิงท่ีมีประสิทธิภาพ แต่ในกรณีไฟไหม้ท่ีลอนดอนดูเหมือนว่า นี่จะเป็นข้อแนะนําาที่ผิด"
รถดับเพลิงลอนดอน "เตี้ยกว่า" ของดูไบ ในเหตุเพลิงไหม้อาคารสูงนั้น รถดับเพลิงที่มีกระเช้าบันไดสําาหรับ ทําางานกู้ภัยในที่สูงจะช่วยให้เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานจากภายนอกอาคาร
ได้ แต่รถของหน่วยดับเพลิงกรุงลอนดอนมีกระเช้าที่ให้เจ้าหน้าที่ขึ้นไป
  ISSUE3.VOLUME24.NOVEMBER2017-JANUARY2018
                  ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ
































































   49   50   51   52   53