Page 85 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 85

   คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
    แน่นอนครับ! อุบัติเหตุน้ัน หมายรวมถึง อัคคีภัย ด้วยร้อยเปอร์เซ็นต์
เมื่อคนทั้งโลกเขากําาหนด และร่วมมือกัน เพ่ือให้เด็ก (ซ่ึงรวมถึง บิดา-มารดาด้วย) ต้อง มีความรู้เรื่อง “การป้องกันอุบัติเหตุ” ดังท่ีมี การประกาศเป็นอนุสัญญาฯ ดังกล่าวแล้ว ก็มี การจัดหลักสูตรการอบรม ซึ่งดําาเนินการโดย
สมาคมการป้องกันและระงับอัคคีภัยแห่ง ชาติ (สหรัฐอเมริกา) NPFA : National Fire Protection Association ซึ่งต้ังอยู่ที่ One Batterymarch Park Quincy, MA02269-9101 ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อต้ังข้ึนมาด้วยการ รวมตัวของผู้เชี่ยวชาญด้านการดับเพลิง ท้ัง ภาครัฐและเอกชน เมื่อปี ค.ศ. 1896 นับถึงวัน น้ีก็ปาเข้าไป 124 ปีแล้ว มีสมาชิกท่ัวโลก ทั้ง ประเภทส่วนบุคคล และนิติบุคคล (คือหน่วย งานทง้ั รฐั และเอกชน) รวมแลว้ กวา่ หกหมน่ื ราย
ถึงประถม 5 (Grades three through five) อายุราว 9 ขวบ ถึง 11 ขวบ
 ระดับ 3 (Level 3) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ถึงมัธยมปีที่ 3 อายุราว 12 ถึง 15-16 ขวบ
เขาสอนอะไรบ้างหรือครับ?
เขากําาหนดส่ิงที่เด็กๆ จะต้องเรียนรู้ และ ปฏิบัติให้เป็นนิสัย 25 ข้อ (25 Key Fire safety Behaviors) จริงๆ แล้วมีเพียง 22 ข้อ อีก 3 ท่ีเหลือ เขาให้แต่ละหน่วยงานที่นําาไปใช้ กําาหนดเสริมขึ้นเองให้เหมาะสมกับสภาพ โดย แยกเป็นกลุ่มพฤติกรรม 7 กลุ่ม คือ
กลุ่ม 1
พฤติกรรมที่ต้องสร้างเสริม ประสบการณ์ในโรงเรียน โดยมีครูเป็นผู้ให้คําาแนะนําา
ฝึกให้รู้ขั้นตอนว่า เมื่อพบเหตุเพลิงไหม้ ให้ รู้จักแจ้งเหตุตั้งแต่เร่ิมตะโกนบอก “ไฟไหม้! ไฟไหม้!” บอกด้วยว่า ไฟไหม้ ตรงไหน?... รู้ จักการเปิดสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire
       ในประเทศไทยน้ัน ก็มีสมาชิกอยู่ด้วย หลายรายอาทิบริษัทที่ทําางานด้านวิศวกรรม โรงกลั่นน้ําามัน ฯลฯ และรวมทั้งตัวผมเองใน นาม สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA
NFPA เขาคิดค้นหลักสูตรสอนเด็กขึ้นมา โดยใช้ช่ือว่า “Learn Not To Burn Curriculum” LNTB โดยแบ่งเป็น 3 ระดับความรู้ คือ
ระดับ 1 (Level 1) เป็นหลักสูตรสําาหรับ เด็กท่ีเข้าเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่2 (Kindergarten through Second grade) ถ้า เทียบอายุก็คงราว 4 ขวบ ถึง 8 ขวบ
 ระดับ 2 (Level 2) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ISSUE4.VOLUME26.FEBRUARY-APRIL2020
1.1 การตอบสนอง และขั้นตอนปฏิบัติ เมอ่ืเกดิเหตเุพลงิไหมใ้นโรงเรยีน(Responds Correctly During Fire and Smoke Drills at School) พูดง่ายๆคือการฝึกหนีไฟใน โรงเรยี น ตอ้ งมกี ารฝกึ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครง้ั โดยมีการเปิดสัญญานแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เมื่อ เด็กได้ยินก็จะลุกข้ึนจากที่ของตัว รีบออกจาก อาคารไปตามเส้นทางท่ีกําาหนดสู่จุดนัดหมาย ที่ปลอดภัยเข้าแถวนับจําานวนบางครั้งอาจมี การหมอบคลานเพื่อหลบควันออกมาบ้าง
1.2 การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ในทันที (Responds Fire And Smoke Immediately)
Alarm) และการใช้โทรศัพท์แจ้งหน่วยดับเพลิง ซ่ึงต้องออกห่างจากจุดเกิดเหตุรู้วิธีพูดซ่ึงต้อง ตั้งสติ พูดช้าๆ ชัดๆ พร้อมทั้งบอกช่ือตัวเอง เบอร์โทศัพท์ที่โทรกลับได้ทันที และท่ีตั้งสถาน ท่ีเกิดเหตุ....เป็นต้น
1.3 โทษและอันตรายของการแจ้งเหตุ เพลิงไหม้เท็จ (Recognizes The Dangers of False Alarm) เด็กๆ ทุกคนมีความซนและ คะนองอาจมกีารกดสญัญาณแจง้เหตเุพลงิไหม้ เล่น หรือแกล้งตะโกน “ไฟไหม้!” โดยไม่มีเหตุ ซ่ึงครูและผู้ปกครองจะต้องให้คําาแนะนําา และ อาจมีการกําาหนดโทษไว้อย่างชัดเจน
  
                  17
 













































































   83   84   85   86   87