Page 87 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 87
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
(Fire Control Panel Room) หน่วยดับเพลิง ประจําาอาคารสถานที่น้ัน ก็เร่งรีบมาดับเพลิง โดยทันที (ควรจัดให้มีทีมดับเพลิงทุกสถานท่ี ตาม พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่งแวดล้อมในการทําางาน พ.ศ. 2554)
2.11 การให้ความรู้เร่ืองไฟฟ้านอก อาคาร (Practices Outdoor Electrical Safety) ไฟฟ้านอกอาคาร เช่น ปลั๊กไฟ สาย ไฟเมน ปั๊มน้ําา เครื่องตัดหญ้า ไฟโคมสนาม ฯลฯ มีอันตรายมาก เน่ืองจากสามารถสัมผัส น้ําา และความชื้น ได้ง่าย ซึ่งทําาให้เกิดอันตราย ต่อชีวิตเด็ก
กลุ่ม 3
เตรียมการหนี (Escape)
ควรแนะนําาเด็กๆให้รู้จักมีแผนการเอาชีวิต รอดปลอดภัย จนเกิดความเคยชิน ดังหัวข้อ ต่อไปนี้
และวิธีใช้
3.2 ทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจ ทแ่ี นะนาํา ไว้ข้างต้น คือ
ข้อ 1.1 ฝึกหนีไฟในโรงเรียน ข้อ 1.2 การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ข้อ 2.1 แผนหนีไฟในบ้าน ข้อ 2.2 หมอบคลานหนีไฟ ข้อ 2.9 สอนสมาชิกใหม่
ข้อ 2.10 ติดต้ังอุปกรณ์เตือนภัย
กลุ่ม 4
ดูแลบาดแผลไฟลวก (Burn Safety)
4.1 ต้องให้การศึกษา ในเร่ืองการปฐม พยาบาล (Initiates First Aid Practices for Burn)
4.2 แนะนําาให้รู้ถึงสิ่งของหรืออุปกรณ์ ใดๆ ท่ีจะทําาให้โดนลวก-พองได้ (Practices Scald and Contact Burn Prevention) เช่น เตารีด ท่อน้ําาร้อนในห้องน้ําา เครื่องทําาน้ําา ร้อน ท่อไอเสียรถยนต์ หรือมอเตอร์ไซด์ ฯลฯ
กลุ่ม 5
อัคคีภัยในชุมชน (Community)
ซง่ึ ตอ้ งเรยี นรู้ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นสถานทส่ี าธารณะ ท่ีๆ มีคนอยู่มากมาย ภยันตรายจากความ โกลาหล
5.1รู้และเข้าการปฏิบัติงานและบริการ ของหน่วยดับเพลิง (Recognizes The Fire Brigades as a Partner in Community Service)
กลุ่ม 6
วัตถุเช้ือเพลิง (Flammable Liquid/Safety) โดยเฉพาะเช้ือเพลิงของเหลว
6.1 แนะนําาเด็กๆ เกี่ยวกับวัตถุเช้ือเพลิง ต่างๆ ท่ีอยู่ในบ้าน (Practices Firesafety with Flammable Liquids) การจัดเก็บที่
ปลอดภัย และการใช้อย่างระมัดระวัง
กลุ่ม 7
สิ่งที่ก่อให้เกิดควันและไฟ (Smoking/Fire)
3.1 ทุกคร้ังที่เข้าไปในอาคารสถานท่ีใด
ก็ตาม ต้องเตรียมทางออกไว้อย่างน้อย 2
ทาง (Identifies Exit Signs And Knows Two
Ways Out In Public Places) อบรมบ่มนิสัย
เด็กๆ เสมอว่า “หาทางหนี” อย่างน้อย 2 ทาง
ไว้ทุกสถานที่ โดยสังเกตจากป้าย หรือสัญญ
ลักษณ์ทางหนีไฟ ดูจุดติดต้ัง “รอกหนีไฟ” ISSUE4.VOLUME26.FEBRUARY-APRIL2020
7.1 การใช้ไม้ขีดและไฟแช็คอย่าง ปลอดภัย (Uses Matches and Lighters Safety)
7.2การเล่นกับไฟ (Practice Holiday Firesafety) เด็กๆ มักจะโปรดปรานการเล่น ดอกไม้ไฟ ปะทัด การก่อกองไฟ เล่นขายของ ซง่ึ ใชไ้ ฟจรงิ รวมถงึ การใชเ้ ทยี นสรา้ งบรรยากาศ ในเวลากลางคืน และน่ีคือสาเหตุที่อาจทําาให้ เกิดไฟไหม้ได้ พ่อ-แม่จึงควรแนะนําา และดูแล อย่างใกล้ชิด
7.3 รณรงค์ให้เด็กมีความสังเกตุเรื่อง การป้องกันไฟ (Encourages Fire safe Smoking Habits) ด้วยกิจกรรมต่างๆ อย่าง สม่ําาเสมอและบ่อยๆ
ทง้ั หมดนแ้ี หละครบั ท่ี NFPA กาํา หนดใหเ้ ปน็ หลักสูตร Learn Not to Burn โดยพิมพ์ออก มาเป็นแฟ้มใหญ่เบ้อเร่ิม 3 เล่ม 3 Level แนะนําาขั้นตอนการสอนเพ่ือครูนําาไปใช้ได้อย่าง ละเอียดละออทุกข้ันตอน
และก็น่ีอีกแหละครับ คือความรู้ที่ผมนําามา ใช้ในการอบรม “เด็กดับไฟ”
19