Page 86 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 86

   คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
    กลุ่มที่ 2
พฤติกรรมที่ต้องสร้างสรรค์ ที่บ้าน ซึ่งอยู่ในความดูแลและ รับผิดชอบโดย พ่อ-แม่
2.1จัดทําาแผนหนีไฟในบ้าน (Uses A Home Escape Plan) พ่อ-แม่ ต้องบอกลูกๆ ทุกคนว่า เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ในบ้าน ใคร มีหน้าท่ีทําาอะไร? ใครเป็นคนดับไฟ? ใครจะ โทรศัพท์แจ้งเหตุ? และไปโทรท่ีไหน? (ต้อง ไม่ใช่ในบ้าน) และจะหนีทางไหน? หนีไปรวม ตัว ณ จุดใด? (จุดรวมพล)
มือปิดหน้าไว้ทั้งสองมือ แล้วกลิ้งทับไฟ ท่ีกําาลัง ลุกไหม้ ผู้ช่วยเหลือพยายามหาผ้ามาคลุมดับ ทําาให้อับอากาศ
พอสมควร พ่อ-แม่ ก็ควรสอนวิธีใช้ให้อย่างถูก ต้อง
    2.2 การหมอบคลานใตค้ วนั พษิ (Performs The Crawl Low in Smoke Procedure) สอนให้เด็กๆ รู้ว่าควันน้ันมีอันตราย ต้องหลีก เลี่ยงการสูดดม เม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้ ความ ร้อนและควัน จะลอยตัวข้ึนสูง อากาศที่ดีกว่า พอหายใจได้ จะอยู่ต่ําาใกล้พื้น หากจําาเป็นต้อง หนีฝ่าควัน ให้คลาน โดยให้หน้าตํา่ามากๆ
2.3ไฟไหม้ตัว ให้ หยุด ทรุด-กล้ิง (Performs The Stop, Drop and Roll Procedure) ถ้ามีไฟไหม้เสื้อผ้าติดตามตัว อย่าว่ิงเป็นอันขาด ให้หยุดแล้วทรุดกายลง เอา
2.4ความปลอดภัยในครัว(Practices Kitchen Safety) ครัวเป็นแหล่งกําาเนิดความ ร้อนและเปลวไฟพร้อมท้ังมีเชื้อเพลิงอยู่ด้วย พ่อ-แม่ ต้องแนะนําาความรู้ให้ลูกหลาน
2.5 ความปลอดภัยในอุปกรณ์กําาเนิด ความร้อน (Practices Firesafety Around Heating Sources) ในประเทศหนาว ภายใน บ้านทุกหลัง จะมีเครื่องทําาความร้อน เพื่อปรับ อุณหภูมิภายในบ้าน (แม้ภาคเหนือและอีสาน ของไทยก็มีอยู่มาก) จึงควรให้ความรู้ ความ เข้าใจ วิธีใช้ และภัยอันตรายแก่เด็กๆ
2.6 การควบคุมไฟนอกสถานท่ี (Prac- tices Outdoor Firesafety) การก่อกองไฟ เพื่อการท่องเที่ยว ปิกนิก หรือแม้การเผาขยะ กลางแจ้ง (ซึ่งไม่ควรทําา) มีผลเสียมากมาย ติดตามมา ถ้าไม่มีการควบคุมดูแลอย่างดี
2.8 ให้เด็กมีส่วนร่วมในการขจัดสิ่งส่อ อันตรายในบ้าน (Participates In Home HazardInspections)เช่นการขจัดขยะสิ่ง ของไม่ใช้แล้วท่ีอาจเป็นเชื้อเพลิงได้ การจัด ห้องหับ บริเวณในบ้านให้เป็นระเบียบเรียบร้อย พ้นจากภัยสัตว์ร้าย และไฟไหม้ เป็นต้น
2.9 แนะนําาสมาชิกใหม่ในบ้านให้รู้ และ ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยท่ีกําาหนดไว้ (Follows Firesafety Procedures) ไม่ว่าใคร ก็ตามที่จะเข้ามาอยู่ร่วมชายคา แม้เพียงคืน เดียวก็ตามก็ควรรู้กฎระเบียบท่ีเรากําาหนดไว้ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และมอบหมายหน้าที่ และ ข้ันตอนปฏิบัติให้เขารับทราบด้วย
2.10 ติดตั้งและดูแลรักษาเครื่องตรวจ จับควัน (Installs And Maintains Smoke Detectors) เครอ่ื งตรวจจบั ควนั ทใ่ี ชภ้ ายในบา้ น เป็นแบบใช้แบตเตอรี่ จะส่งเสียงดังประมาณ 85-100 เดซิเบล ที่ตัวเครื่อง เมื่อมีควันปริมาณ มากพอสมควรสัมผัสกับเคร่ือง ซ่ึงมีขนาด กะทดั รดั ตดิ ตง้ั ไวบ้ นเพดาน ณ จดุ ทเ่ี หมาะสม ในบ้านเมืองของเรา ไม่ค่อยมีการแนะนําาให้ใช้ จึงหาซื้อยาก แต่ก็พอมีตามห้างสรรพสินค้า ใหญ่ๆ ราคาประมาณ 400-800 บาท
ประโยชน์ของ Smoke Detectors โดย ตรงกค็อื เตอืนใหเ้รารวู้า่มเีหตเุพลงิไหม้เพราะ จับควันได้เราจะได้พอมีเวลาแก้ไขสถานการณ์ ตามขั้นตอนที่มีแผนไว้
ส่วน Smoke Detectors ที่ติดต้ังตาม อาคาร และสถานประกอบการตา่ งๆ นน้ั จะ เป็นระบบวงจรใหญ่ ใช้ไฟฟ้า เวลาเครื่องตรวจ
พบควัน จะส่งสัญญาณไปบอกที่ห้องควบคุม
  2.7การให้ความรู้เรื่องการใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้าภายในบ้าน(PracticesFiresafety With Small Electrical Appliances) อุปกรณ์ ไฟฟ้าที่เด็กๆเห็นเป็นประจําา เช่น เตารีด พัดลม ทีวี คอมพิวเตอร์ จะต้องแนะนําาให้รู้ ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก และถ้าเด็กโต
 18
                  ISSUE4.VOLUME26.FEBRUARY-APRIL2020















































































   84   85   86   87   88