Page 49 - คณิตศาสตร์ประถม
P. 49

43



                          1.2  สมบัติการสลับที่ของการคูณ

                                        การคูณตามแนวนอน                        การคูณตามแนวตั้ง


                                           3 × 2    =   6                            3                    2
                                                                                 ×
                                                                                             ×
                                           2 × 3    =   6                            2                     3
                                 ดังนั้น      3 × 2     =   2 × 3                    6        =          6

                                           10 × 9    =   90                          10                   9   ×
                                                                                  ×
                                             9 × 10  =  90                            9                   10
                                 ดังนั้น      10  × 9    =   9 × 10                  90       =         90

                              จํานวนสองจํานวนที่มาคูณกัน สามารถสลับที่กันได กลาวคือ ตัวตั้งและตัวคูณสลับที่กัน

                              ไดโดยที่ผลคูณยังคงเทาเดิม ดังเชน 3 × 2 = 2 × 3 หรือ 10  × 9 =  9 × 10 เราเรียกสมบัติ

                              ขอนี้วา “สมบัติการสลับที่ของการคูณ”
                               สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ


                              3 × 5 × 6     =  (3 × 5) × 6        3 × 5 × 6     =  3 × (5 × 6)

                                            =   15  × 6                         =  3 × 30

                                            =   90                              =  90

                                     ดังนั้น  (3 × 5) × 6 = 3 × (5 × 6)


                              การนําจํานวนสามจํานวนมาคูณกัน จะคูณสองจํานวนใดกอนแลวไปคูณกับจํานวนที่เหลือ
               ผลคูณจะเทากันเสมอ เราเรียกสมบัติขอนี้วา “สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ”

                              ประโยชนขอนี้ก็เพื่อจะชวยใหคิดเลขงายขึ้น โดยยึดหลักขอใดขอหนึ่งดังนี้

                              1.  คูณสองจํานวนที่นอยกอน แลวจึงคูณกับจํานวนที่เหลือ
                              2.  คูณสองจํานวนที่ไดผลคูณลงทายดวย 0 กอน แลวจึงคูณกับจํานวนที่เหลือ

                              3.  ถามีจํานวนที่ลงทายดวย 0 อยูหนึ่งจํานวนที่ไมเกิน 3 หลัก ใหคูณสองจํานวนที่ไมลง

                                  ทายดวย 0 กอน แลวจึงคูณจํานวนที่ลงทายดวย 0
                       3. สมบัติการแจกแจงของการคูณ



                             (5 + 10) × 4    =  15 × 4           (5 + 10) × 4    =  (5 × 4) +  (10 × 4)
                                           =  60                               =  20 + 40

                                                                               =  60

                                    ดังนั้น  (5 + 10) × 4  =   (5 × 4) +  (10 × 4)
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54