Page 32 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 32
- 28 -
และการชดเชยความเสียหายหรือการถูกระงับสิทธิประโยชน์ในกรณีที่ไม่มีการปฎิบัติตามค าตัดสิน ทั้งนี้ ยังมี
การให้สิทธิพิเศษและแตกต่างกับภาคีประเทศพัฒนาน้อยที่สุดอีกด้วย
้
้
ุ
ี
ื
19.6 ให้มีการกาหนดจดติดต่อ (contact point) และแจงใหภาคอนทราบ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่
่
วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ทั้งนี้ จะต้องแจ้งทันทีหากมีการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 20 บทบัญญัติสุดท้าย
บทบัญญัติสุดท้าย ประกอบด้วย 9 ข้อบท
20.1 กลุ่มภาคีอาจตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก้ไขความตกลงฉบับนี้
ู
่
ี
่
ี
ั
20.2 ให้ความตกลงมีผลบังคับใช้ 60 วันหลงจากทสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศและคเจรจาอาเซยน 3
ประเทศให้สัตยาบัน
20.3 ภาคีใดอาจถอนตัวจากความตกลงฉบับนี้โดยการแจ้งเป็นลายลักษณ์อกษรไปยังผู้เก็บรักษาความ
ั
ตกลง โดยการถอนตัวจะมีผล 6 เดือนหลังจากวันที่ได้แจ้ง
ื่
20.4 กลุ่มภาคีจะต้องทบทวนความตกลงฉบับนี้ เพอเสริมสร้างความตกลงและปรับให้ทันสมัย 5 ปี
หลังจากวันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับและทุก ๆ 5 ปีต่อจากนั้น
่
20.5 ความตกลงฉบับนี้จะเปิดรับการภาคยานวัติโดยสมาชิกใหม 18 เดือนหลงจากวันทความตกลงม ี
ุ
่
ี
ั
ผลใช้บังคับ โดยการภาคยานุวัติดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับความยินยอมของกลุ่มภาคีและข้อก าหนดหรือเงื่อนไขใด ๆ ที่
กลุ่มภาคีอาจตกลงกับสมาชิกใหม่
ภาคผนวก 1 ตารางข้อผูกพันทางภาษี
ภาพรวม ภาคีตกลงร่วมกันที่จะใช้พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ที่ได้มีการปรับแก้ไขในวันที่
็
ั
๑ มกราคม ๒๕๕๕ และใช้อตราภาษีที่เรียกเก็บจริงที่มีผลใช้บังคับ ณ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ เปนอัตราฐาน
ส าหรับการลดหรือยกเลิกภาษี
1.1 ข้อผูกพันการเปิดตลาดสินค้าของไทย
ั
ไทยได้ผูกพนการเปิดตลาดสินค้าให้แต่ละภาคีแตกต่างกัน โดยไทยเปิดตลาดที่ดีที่สุดให้กับ
ิ
อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ มีสัดส่วนการยกเลิกภาษีอยู่ที่ร้อยละ ๙๑.๓ ของจ านวนรายการสนค้า
ู
่
ี
้
ทั้งหมด (9,558 รายการ) และรอยละ ๘๙.๑ ของมลคาการนาเข้าจาก RCEP ในขณะท่ไทยยื่นข้อเสนอการเปิด
ี
ตลาดใหเกาหล ญี่ปุ่นและจีน ในสัดส่วนที่น้อยกว่าและแตกต่างกัน โดยไทยมีสินค้าที่น ามายกเลิกภาษีให้กับ
้
(๑) เกาหลี คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ๙๐.๓ ของจานวนรายการสนคาทงหมด และรอยละ ๘๖.๔ ของมูลค่าการน าเข้า
ิ
้
ั
้
้
้
จาก RCEP (๒) ญี่ปุ่น ร้อยละ ๘๘.๕ ของจานวนรายการสนคาทงหมด และรอยละ ๘๗.๓ ของมูลค่าการน าเข้าจาก
้
ั
ิ
้
้
้
ี
RCEP และ (๓) จน รอยละ ๘๕.๒ ของจ านวนรายการสินค้าทั้งหมด และรอยละ ๘๑.๓ ของมูลค่าการน าเข้าจาก
RCEP เพื่อรักษาสมดุลของการเปิดตลาดกับภาคีเหล่านี้
ข้อผูกพันทางภาษีของไทยภายใต้ความตกลง RCEP สามารถแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้
(๑) สินค้าที่น ามายกเลิกภาษี ประกอบด้วยสินค้าที่ไทยผูกพันที่จะลดภาษีเป็นศูนย์ทันทีที่ความ
ี
ตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี ภายใน ๑๕ ป และภายใน ๒๐ ป นอกจากน้ มรายการสนค้าชินสวนยานยนต ์
ิ
ี
ี
ี
่
้
บางส่วนที่ไทยได้ก าหนดเงื่อนไขการน าเข้า Original Equipment Manufacturing (OEM) ว่า จะต้องนาเข้าโดย
ื่
ผู้ผลิตยานยนต์หรือชิ้นส่วนยานยนต์เพอน ามาใช้ในการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์เท่านั้น ถึงจะสามารถ
ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ระบุไว้ในตารางข้อผูกพันทางภาษี
้
(๒) สนคาออนไหว ไทยจะลดภาษลงรอยละ ๑๐ และ ๑๕ ภายใน ๒๐ ปี โดยเริ่มทยอยลดภาษี
ิ
้
่
ี
ในปีที่ ๑๑ และอัตราภาษีสุดท้ายจะไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๕ (เหลือร้อยละ ๕ – ๒๗)
(๓) สินค้าอ่อนไหวสูง ไทยจะคงอัตราภาษีไว้เท่ากับอัตราภาษีฐานการเจรจา