Page 36 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 36

- 32 -

                                                                                                  ี
                 ตารางที่ ๖ : สัดส่วนการเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่ประเทศคู่เจรจาอาเซียนมอยู่กับไทย
                                                                                           หน่วยมูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ

                         การเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่
              ประเทศคู่
               เจรจา    จ านวน  ร้อยละของ  มูลค่าการ  ร้อยละของ  ตัวอย่างสินค้าที่ประเทศคู่เจรจาอาเซียนเปิดตลาดเพิ่มเติมจาก
              อาเซียน   รายการ จ านวนสินค้า  น าเข้าจาก  มูลค่าการน าเข้า  ความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่กับไทย
                         สินค้า   ทั้งหมด   RCEP    จาก RCEP
            อาเซียน/
            ออสเตรเลีย                                    ไม่มีการเปิดตลาดเพิ่มเติม
            /นิวซีแลนด์
                                                                ื้
                                                              เชอเพลิงที่ได้จากแร่ ผักผลไม้สด/แห้ง (อาทิ มังคุด ทุเรียน) ผัก
                                                                             ิ
                                                              ผลไม้แปรรูป (อาท ข้าวโพดหวาน สัปปะรด) เนยแข็ง แชมพู
                                                              น้ ามันที่ได้จากพืช ของปรุงแต่งจากธัญพืชและแป้ง แป้งมัน
            เกาหลี      ๔๑๓      3.4       ๗,๒๐๑      3.2     ส าปะหลัง แป้งท้าวยายม่อม พลาสติก เครื่องแต่งกาย เครื่องแก้ว
                                                                                                          ิ้
                                                              ไม้ เครื่องดื่มที่มีและไม่มีแอลกอฮอล์ อาหารแปรรูป ชนส่วน
                                                              อุปกรณ์ไฟฟ้า  สบู่ เคมีภัณฑ์ ด้ายท าด้วยยางวัลแคไนซ์ สินค้า
                                                              ประมง รถจักรยาน เครื่องยนต์และส่วนประกอบ กระเบื้อง ซีเมนต์
                                                              ผลไม้และลูกนัตปรุงแต่ง  (อาทิ เชอร์รี่ ส้ม สัปปะรด เกาลัด) สินคา
                                                                                                              ้
                                                                                        ้
                                                              ประมง แป้งจากมันฝรั่ง แป้งสาคู นามันถั่วเหลือง น้ ามันจากเมล็ด
                                                                              ุ
                                                                        ั
                                                                                ่
            ญี่ปุ่น     207      2.3       ๓๖๒        0.09    ดอกทานตะวน ผักปรงแตง (อาทิ มะเขือเทศ ถั่วบีน หน่อไม้ฝรั่ง ผง
                                                              กระเทยม) ผงโกโก้ กาแฟคั่ว ขนมปังกรอบ น้ าส้ม น้ าเกรปฟรุต  น้ า
                                                                   ี
                                                              ผลไม้ผสม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
                                                                                               ิ
                                                              พริกไทย สับปะรดแปรรูป นามะพร้าว แผ่นฟล์ม แผ่นไวแสง ตัวรับ
                                                                                   ้
                                                                                                 ี
                                                              สัญญาณโทรทัศน์ น้ ามันเบาและสิ่งปรุงแต่ง สไตรน โพลิเอทลีน สาร
                                                                                                         ิ
            จีน          33      0.4       ๔,๕๖๗      0.7
                                                              ทาละลาย ฟิลม์เอ็กซเรย์ เครื่องเสียง อุปกรณ์ให้แสงสว่าง สายไฟที่

                                                              ใช้ในรถยนต์ เครื่องยนต์ ที่ปรับกระจกในรถยนต์ กระดาษ

                    ๑.๓ ข้อผูกพันการเปิดตลาดสินค้าระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกัน
                        หากไม่รวมสิงคโปร์และบรูไนดารุสซาลามซึ่งเป็นประเทศที่มีการค้าเสรีสูง รวมทั้งกัมพูชา สปป. ลาว
                                       ั
               และเมียนมาที่เป็นประเทศพฒนาน้อยที่สุด (Least-Developed Countries:  LDCs)  และได้รับสิทธิการปฏิบัติ

                 ็
                    ิ
                                                                                        ้
               เปนพเศษและแตกต่าง (Special and Differential Treatment: S&D) ในการกาหนดขอผกพนทางภาษีของตน
                                                                                             ั
                                                                                           ู
               ประเทศอาเซียนที่เป็นคู่แข่งส าคัญของไทย ได้แก่ เวียดนาม อนโดนีเซีย มาเลเซีย และฟลิปปินส์  ได้ผูกพนการ
                                                                   ิ
                                                                                         ิ
                                                                                                       ั
                          ้
                                        ั
                           ั
                                 ี
               เปดตลาดใหกบอาเซยนด้วยกน (รวมถงไทย) โดยมีสัดส่วนการยกเลิกภาษีอยู่ที่ร้อยละ 90 – 92 ของจ านวน
                 ิ
                                                ึ
               รายการสินค้าทั้งหมด และร้อยละ 85.4 – 89.1 ของมูลค่าการน าเข้าจาก RCEP
                        ประเทศสมาชิกอาเซียนมีรูปแบบข้อผูกพันทางภาษีสรุปดังนี้
                           (๑) สิงคโปร์ จะยกเลิกภาษีส าหรับสินค้าทั้งหมด โดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ
                           (๒) บรูไนดารุสซาลาม จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปีและ
               ภายใน ๑๕ ปี ในขณะที่จะลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0 - ๕ ภายใน ๒๐ ปีโดยเริ่มลดภาษีจากปีที่ ๑๐ ส าหรับสินค้า
               อ่อนไหว และจะลดภาษีเหลือร้อยละ ๕ ภายใน ๒๕ ปีโดยเริ่มลดภาษีจากปีที่ ๑๕ ส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                                      ี
                           (๓) อินโดนเซย จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี ภายใน
                                    ี
               ๑๕ ปและภายใน ๒๐ ปี ในขณะที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 2.5 – 15 ภายใน ๒๓ ปีโดยเริ่มลดภาษีจากปีที่ ๑๐
                    ี
               หรือปีที่ ๑๑ ส าหรับสินค้าอ่อนไหว และจะคงอัตราภาษีฐานการเจรจาส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                           (๔) ฟิลิปปินส์ จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๕ ปี และภายใน
               ๒๐ ปี ในขณะที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 3 – 35 ภายใน ๑๕ ปี ส าหรับสินค้าออนไหว และจะลดภาษีเหลือร้อย
                                                                                 ่
               ละ 15 – 30 ภายใน ๒๐ ปีส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41