Page 4 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 4
เศรษฐศำสตร์เบื้องต้น
ควำมเป็นมำ ควำมหมำย และควำมส ำคัญของวิชำเศรษฐศำสตร์
เศรษฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งในระดับบุคคลและสังคม โดยตระหนัก
ว่ามนุษย์มีความต้องการที่ไม่สิ้นสุด แต่ทรัพยากรที่มนุษย์น ามาใช้มีจ ากัด จึงต้องมีการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างจ ากัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ามากที่สุด วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่มีความใกล้ชิดดกับการด าเนินชีวิตของ
มนุษย์ เพราะการด าเนินชีวิตประจ าวัน ในฐานะผู้บริโภคย่อมมีเรื่องต้องคิดและตัดสินใจเกี่ยวกับการเลือกสินค
ค้าและบริการต่าง ๆ ซึ่งมีให้พิจารณาอยู่มากมายหลายชนิด หลายราคา หลายรูปแบบอยู่ตลอดเวลา
นอกจากนี้ ในฐานะผู้ผลิตก็จะต้องมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต ศึกษาภาวะตลาด ความต้องการ
ของผู้บริโภค เพื่อการผลิตที่ได้ก าไรสูงสุด
ควำมเป็นมำของวิชำเศรษฐศำสตร์
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งแต่เดิมนั้นกฎเกณฑต่าง ๆทางเศรษฐศาสตร์จะ
สอดแทรกอยู่ในหลักจริยธรรม ปรัชญา และค าสอนในศาสนาต่าง ๆ เชน หลักปรัชญาของเพลโต อริสโตเติล
แต่แนวคิดเหลานี้ยังไม่อาจถือเป็นทฤษฎี หรือหลักเกณฑ ทางเศรษฐศาสตร์ที่จะน ามาใชวิเคราะห์และะวินิจฉัย
เหตุการณ หรือปรากฏการณทางเศรษฐกิจ ได้อย่างงสมบูรณ จนกระทั่งในคริศต์ศตวรรษที่13 - 16 ซึ่งเป็น
เป็นสมัยที่ยุโรปมีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ได้มีแนวความคิดหนึ่งทางเศรษฐศาสตร์เกิดขึ้น นั่นคือการคา
ขายที่จะน าความมั่งคั่งมาสู่ประเทศ ได้นั้นนั้นจะตองหาทางส่งสินคาออกใหมีมูลคามากกวามูลคาของการซื้อสิ
นคาเขา ทั้งนี้ เพราะความเชื่อว่าการที่ประเทศจะมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจนั้นต้องมีทองค ามาก ๆ เนื่องจาก
ในสมัยนั้นจะใชทองค าเป็นสิ่งช าระหนี้ทางการคา แนวความคิดนี้ตอมากลายเป็นลัทธิทางเศรษฐกิจ ที่เรียกวา
“ลัทธิพาณิชยนิยม” (Merchantilism) ซึ่งได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงคริสตร์ศตวรรษที่ 18 ได้มีต าราทาง
เศรษฐศาสตร์ ที่ถือกันว่าเป็นต าราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของโลกเกิดขี้นชื่อ “ความมั่งคงแห่งชาติ”(The
Wealth of Nations) เขียนโดย อดัม สมิธ นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษที่กล่าววา “ประเทศต่าง ๆ จะเกิด
ความเจริญมั่งคั่งทางเศรษฐกิจได้นั้น ต้องปล่อยให้เอกชนประกอบกิจกรรม ทางเศรษฐกิจตามความถนัดอย่าง
เสรี โดยยึดหลักการแบงงานกันท า จะท าใหเกิดความช านาญเฉพาะอย่าง แล้วจะได้ผลผลิตมากขึ้นรัฐบาลไม่
ควรวรเข้าไปแทรกแซง หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับการผลิตและการคาใหน้อยที่สุด”