Page 7 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 7
รัฐบาลจะมีบทบาทส าคัญในการศึกษาก าหนดนโยบายและเป้าหมายในการจัดสรรทรัพยากรของแต่ละสังคม
หรือแต่ละระบบเศรษฐกิจ ดังนี้
1. เพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การผลิตสินคา และบริการเพื่อ
ตอบสนองความตองการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นตามเป้าหมายที่ก าหนดไวตลอดจนท าใหประชาชนมีระดับ
ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
2. สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คือ รักษาระดับราคาสินค้าและบริการ ให้มีความมั่งคงไม่ผันผวนขึ้น
ลงอย่างรวดเร็วอันจะกอใหเกิดปญหาภาวะเงินเฟ้อและเงินฝดขึ้น จนกระทั่ง ผู้ผลิตไม่กลาลงทุนและผู้บริโภค
ไม่มั่นใจที่จะซื้อสินค้าและบริการมาบริโภคในระยะเวลานั้นๆ
3. การกระจายรายได้ที่เทาเทียมกัน คือใหรายได้สวนใหญ่ของประเทศตกอยู่กับกลุมบุคคลที่เป็น
ประชากรสวนใหญ่ของประเทศหรืออีกนัยหนึ่งประชากรสวนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยใกลเคียงกัน ท าใหชองว่าง
ระหว่างคนรวยและคนจนมีน้อยมาก ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ไม่มีปญหาการกูหนี้ยืมสิน
4. ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ คือ ความสามารถในการใชทรัพยากรการผลิตตางๆ เชน ที่ดิน
แรงงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งมีอยู่อย่างจ ากัดให้คุ้มค่ามากที่สุด
5. เสรีภาพทางเศรษฐกิจ คือ สิทธิเสรีภาพสวนบุคคลของประชาชนในการตัดสินใจ กระท าสิ่งตางๆ
ไม่วาจะเป็นเรื่องการประกอบอาชีพ การจับจ่ายใชสอยตลอดจนการแลกเปลี่ยน สินค้าและบริการ ทั้งนี้เพื่อให
บรรลุสิ่งที่ตนตองการ
6. คุณภาพชีวิต คือ สถานะความเป็นอยู่แสดงถึงการกินดีอยู่ดีของประชาชน ประกอบด้วย รายได้ที่
สมดุลกับรายจ่าย สุขภาพอนามัยแข็งแรง มีระดับการศึกษาที่ดี มีความสมบูรณ ทางด้านการอุปโภค และมี
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ประโยชนของวิชำเศรษฐศำสตร์
เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่สอดแทรกอยู่ในชีวิตประจ าวันของบุคคลทั่วไป ดังนั้นการศึกษาวิชา
เศรษฐศาสตร์ ยอมจะใหประโยชนในแงที่จะช่วยใหเขาใจสถานการณตางๆ ทางเศรษฐกิจได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ซึ่งเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ การแกปญหาตางๆ ทางเศรษฐกิจใหบรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้วิชา
เศรษฐศาสตร์สามารถ ามาใชประโยชนได้ ดังนี้
1) ในฐำนะผู้บริโภค ความรูทางเศรษฐศาสตร์ช่วยใหผู้บริโภครูจักประมาณการและวางแผนการใช
จ่ายของครอบครัว รวมทั้งการเก็บออมเงินไวใชในคราวจ าเป็น ทั้งนี้เพื่อความสุขสบายของสมาชิกในครอบครัว
ทั้งในปจจุบันและอนาคต