Page 5 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 5

ควำมหมำยของเศรษฐศำสตร์


                         ค าวา “เศรษฐศาสตร์” ตรงกับค าในภาษาอังกฤษวา Economics เป็นค าที่มีรากศัพท์มาจากภาษา

               กรีกวา “oikonomikos” แปลวา การบริหารจัดการของครัวเรือน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า รากฐานเดิมของวิชา

               เศรษฐศาสตร์มาจากการศึกษาถึงการบริหารจัดการกิจกรรมของ ครัวเรือน แต่ในปจจุบันความหมายของวิชา

               เศรษฐศาสตร์ได้ขยายตัวกว้างขวางกวาการบริหาร จัดการในครัวเรือน โดยครอบคลุมถึงสังคมของประเทศ

               และของโลกตามวิวัฒนาการของ เศรษฐกิจ  ด้วยเหตุที่มนุษย์มีความตองการ มากมายไม่จ ากัด แต่ทรัพยากรมี

               จ ากัด ท าให มนุษย์ไม่สามารถน าทรัพยากรมาบ าบัดความ ตองการของตนเองได้อย่างเพียงพอ จึงตอง มีการ
               บริหารจัดการอย่างเหมาะสม ดังนั้น จึงอาจใหความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้วา วิชาเศรษฐศาสตร์

               หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึง การเลือกใชทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัดใหเกิด ประโยชนสูงสุด โดยผลิตเป็นสินค้าและ

               บริการ เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จ ากัด


                       ควำมส ำคัญของวิชำเศรษฐศำสตร์


                        วิชาเศรษฐศาสตร์มีความส าคัญตอทั้งบุคคลและประเทศชาติในการตัดสินใจเลือกใช ทรัพยากรที่มีอยู่

               อย่างจ ากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด ความส าคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์สามารถแบง ได้เป็น 2 ระดับดังนี้


                       1) ระดับบุคคล แบงออกเป็น


                       1.1) ผู้บริโภค ความรูทางเศรษฐศาสตร์จะช่วยใหผู้บริโภคสามารถตัดสินใจได้วาจะด าเนินการอย่างไร

               ในการหารายได้ วางแผนการใชจ่าย และการออมวาจะท าอย่างไร จึงจะท าใหสมาชิกในครอบครัวมีความ

               เป็นอยู่ที่ดีหรือควรเลือกบริโภคสินค้าและบริการอย่างไร จึงจะได้รับประโยชนสูงสุด คุ้มกับเงินที่ตองจ่ายไป

               ส าหรับการซื้อสินค้าและบริการ


                       1.2) ผู้ผลิต การผลิตสินค้าและบริการ ผู้ผลิตจ าเป็นตองใชทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่าง
               จ ากัด ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์จะช่วยให้ผู้ผลิตตัดสินใจว่าจะใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจ ากัดนั้นผลิตสิสินค้า

               และบริการอะไรดี จึงจะตรงกับความตองการของผู้บริโภคและใชกรรมวิธีการผลิตอย่างไรที่จ าใหเสียตทุนการ

               ผลิตต่ าที่สุดแต่ได้ก าไรสูงสุด ซึ่งเป็นเป้าหมายที่ส าคัญของผู้ผลิต


                       2) ระดับประเทศ ประเทศต่างๆไม่ว่าจะร่ ารวยหรือยากจนต่างก็ต้องประสบกับปัญหาทาเศรษฐกิจ

               ด้วยกันทั้งนั้น ซึ่งปญหาเหลานี้ต่างก็มีพื้นฐานมาจากการที่ีทรัพยากรมีจ ากัดและไม่เพียงพอที่จะน ามาผลิตเป็น

               สินค้าและบริการ เพื่อสนองความตองการของประชาชนได้อย่างครบถ้วน ดังนั้น ความรูทางเศรษฐศาสตร์จะ

               ช่วยรัฐบาลในการจัดสรรทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด และช่วยประเทศชาติเมื่อตองประสบกับปญหา

               เศรษฐกิจอื่นๆ เชน ปญหาความยากจนของประชากร ปญหาการว่างงาน ปญหาค่าครองชีพที่สูงขึ้น เป็นตน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10