Page 6 - ชุดการสอนเศรษฐศาสตร์ นิภาทิพย์ ด่านพายุห์
P. 6
ขอบข่ำยและเป้ำหมำยของวิชำเศรษฐศำสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์มีความประสงคที่จะก าหนดแนวทาง หรือนโยบายในการแกปญหา การจัดสรร
ทรัพยากรใหเพียงพอและแกไขปญหาที่สังคมไม่พึงปรารถนาใหหมดสิ้น นอกจากนี้วิชาเศรษฐศาสตร์ยังมุ่ง
พัฒนาตามแนวทางหรือนโยบายที่จะท าใหสังคมมีความเป็นอยูดีขึ้น ใหมากที่สุดเทาที่จะมากได้อีกด้วย
2.1 ขอบข่ำยของวิชำเศรษฐศำสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์แบ่งขอบข่ายของการศึกษาออกเป็น 2
สาขาวิชาใหญ่ ได้แกเศรษฐศาสตร์จุลภาค และเศรษฐศาสตร์มหภาค
1) เศรษฐศำสตร์จุลภำค (microeconomics) เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในสวนย่อย
ระดับบุคคล หรือองคกรธุรกิจหน่วยใดหน่วยหนึ่ง เชน การศึกษาถึงพฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้ผลิต
เนื้อหาส่วนใหญ่ของเศรษฐศาสตร์จุลภาคจึงเป็นเรื่องของการผลิต การบริโภค การก าหนดราคาสินคา ตลาด
สินค้าและปัจจัยการผลิต ภายใตการด าเนินการของตลาดต่างๆ เนื่องจากเศรษฐศาสตร์จลุภาคส่วนใหญ่จะ
เกี่ยวกับการก าหนดราคาของสินค้าและบริการหรือปัจจัยการผลิต ท าใหในบางครั้งเรียกเศรษฐศาสตร์จุลภาคว
า “ทฤษฎีราคา”
2)เศรษฐศำสตร์มหภำค (macroeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางการผลิต ทั้งระบบใน
ระดับสวนรวมของประเทศ เชน ศึกษารายได้ประชาชาติ ปริมาณเงิน ระดับราคาสินคา และบริการ ความ
ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ การบริโภค การออมและลงทุน การจ้างงานโดยรวม การค้าระหว่างประเทศ การ
หารายได้ของรัฐ การใช้จ่ายของรัฐบาล และการพัฒนาเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาปัญหาการว่างงาน
ปัญหาภาวะซบเซาของภาคธุรกิจ ปัญหาเงินเฟ้อเงินฝืด เป็นต้น ดังนั้นเศรษฐศาสตร์มหภาคจึงไม่ได้มุ่งเน้นที่
ผู้บริโภคหรือผู้ผลิตคนใดคนหนึ่งหรือ กลุมใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็นการพิจารณาในภาพรวมบางครั้งจึงเรียก
เศรษฐศาสตร์มหภาควา “ทฤษฎีรายได้ประชาชาติ” การแบ่งเศรษฐศาสตร์ออกเป็นสอง แขนงดังกล่าวเป็น
เพียงแคการแบ่งขอบเขตของการศึกษาเท่านั้น โดยเศรษฐศาสตร์ทั้งสองแขนงมีความส าคัญเท่าๆกัน
ในการท าความเขาใจพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคล ครอบครัว หน่วยธุรกิจและรัฐบาลตลอดจน
ท าความเขาใจในการท างานของระบบเศรษฐกิจและปญหาเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงจ าเป็นตองศึกษาและใหความ
สนใจทั้งเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค เพราะเศรษฐกิจหน่วยย่อยจะมีอิทธิพลตอพฤติกรรม
และความเป็นนไปของเศรษฐกิจในระดับประเทศหรือระดับสวนรวมของสังคม
2.2 เป้ำหมำยของวิชำเศรษฐศำสตร์ เศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายที่ส าคัญในการมุ่งท าความเขาใจใน
พฤติกรรมทางด้าน เศรษฐกิจของมนุษย์เพื่อใชความรูนั้นใหเกิดประโยชนในการน าเอาทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จ ากัด มาใชใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ท าใหสังคมมีสภาพความเป็นนอยูที่ดีขึ้น ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี โดย