Page 6 - บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์
P. 6
4
โดยถ้า M>1 ภาพมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ M=1 ภาพมีขนาดเท่ากับวัตถุ M<1 ภาพมีขนาดเล็กกว่าวัตถุ
11.3 การหักเหของแสง
เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านผิวรอยต่อของตัวกลาง 2 ตัวกลาง จะเกิดการหักเหของแสง
รูปที่ 48 รังสีตกกระทบตัวกลางที่1 และรังสีหกเหตัวกลางที่2
ั
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
รังสีของแสงที่เคลื่อนที่ผ่านผิวรอยต่อเข้าไปอกตัวกลางหนึ่ง เรียกว่า รังสีหักเห เมื่อทำการทดลองวาง
ี
แท่นพลาสติกบนแผ่นกระดาษขาว แล้วฉายลำแสงตกกระทบผิวด้านข้างของแท่งพลาสติก จากนั้นลากเส้น
ตามขอบพลาสติก รังสีตกกระทบ รังสีหักเหในแท่งพลาสติก และรังสีหักเหในอากาศ บนกระดาษขาว วัดมุม
กระทบ มุมหักเหในแท่งพลาสติก มุมตกกระทบในแท่งพลาสติก และมุมหักเหในอากาศ ได้ความสัมพันธ์ว่า
อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบนตัวกลางหนึ่งกับไซน์ของมุมหักเหในอีกตัวกลางหนึ่งมีค่าคงตัวเสมอ
เรียกว่า กฎของสเนลล์ หรือ
1 = ค่าคงตัว
2
ถ้าแสงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วในตัวกลาง 2 ชนิด ได้ว่า
1 = 1
2 2
ถ้าตัวกลาง 1 เป็นสุญญากาศ ตัวกลางที่ 2 เป็นตัวกลางใด ๆ จะได้ว่า
1 =
2
โดย c เป็นอัตราเร็วแสงในสุญญากาศ และ v เป็นอัตราเร็วแสงในตัวกลางใด ๆ
ดรรชนีหักเหของตัวกลางใด ๆ คือ อัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วแสงในสุญญากาศกับอัตราเร็วแสงใน
ตัวกลางนั้น ๆ ถ้าให้ n แทนดรรชนีหักเหของตัวกลาง จะได้ว่า
=
เป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย