Page 9 - บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์
P. 9
7
ภาพ และรัศมีความโค้งของผิวโค้งทรงกลมทั้งสองผิว เมื่อแสงจากวัตถุกระทบเลนส์จะประมาณว่ามีการหักเห
ครั้งเดียว
ในกรณีวัตถุอยู่ระหว่างโฟกัส F และจุด O ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนมีทั้งขนาดขยาย เท่ากับ และเล็ก
กว่าวัตถุ ภาพที่เกิดมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือน ขึ้นอยู่กับระยะวัตถุ ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้าจะเป็น
ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กลงเสมอ
สามารถคำนวณหาตำแหน่งภาพ จากรูปที่ 55
รูปที่ 55 การเกิดภาพเนื่องจากเลนส์นูน
จะได้
1 1 1
+ =
′
โดยที่ คือ ระยะวัตถุ
′
คือ ระยะภาพ
คือ ความยาวโฟกัส
กำหนดให้
1. ด้านหน้าเลนส์คือด้านที่รังสีมาตกกระทบ
2. เป็น + เมื่อวัตถุอยู่หน้าเลนส์ และเป็น – เมื่อวัตถุอยู่หลังเลนส์
′
3. เป็น + เมื่อภาพอยู่หลังเลนส์ และเป็น – เมื่อภาพอยู่หน้าเลนส์
4. ของเลนส์นูนมีเครื่องหมาย + ส่วนเลนส์เว้าเป็น –
จากรูป ความสัมพันธ์ของขนาดวัตถุและขนาดภาพคือ
′ ′
=
11.5 ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง
11.5.1 การกระจายแสง
เมื่อให้แสงขาวผ่านปริซึมสามเหลี่ยมพบว่าแสงที่หักเหออกมาจากปริซึมจะไม่เป็นสีขาว แต่จะมีสี
ต่างกัน แสงแต่ละสีที่หักเหออกมาจะทำมุมหักเหต่างกัน แสงแต่ละสีจึงปรากฏบนฉาก ณ ตำแหน่งต่าง ๆ กัน
เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การกระจายแสง มุมที่รังสีหักเหออกจากปริซึมทำกับรังสีตกกระทบที่ผิวแรกของปริซึม