Page 8 - บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์
P. 8
6
11.4 เลนส์บาง
ั้
เลนส์มี 2 ชนิด ได้แก่ เลนส์นูน และ เลนส์เว้า เลนส์เป็นตัวกลางโปร่งแสงที่มีผิวโค้งทงสองด้าน มี 1
และ เป็นศูนย์กลางความโค้ง เส้นตรงที่ลากผ่าน และ เรียกว่า แกนมุขสำคัญ O เป็นจุดบนแกนมุข
2
2
1
สำคัญที่อยู่ภายในเลนส์ เรียกว่า ศูนย์กลางเลนส์ ดังรูป
รูปที่ 52 แกนมุขสำคัญ และศูนย์กลางเลนส์
ในกรณีเลนส์นูน รังสีผ่านเลนส์นูนจะหักเหและเมื่ออกจากเลนส์จะหักเหอกครั้งหนึ่งไปรวมกันที่จุด ๆ
ี
หนึ่งบนแกนมุขสำคัญของเลนส์นูน เรียกจุดนี้ว่า จุดโฟกัส หรือ F แต่ถ้ารังสีขนานตกกระทบทางด้านขวามือ
ของเลนส์ ก็จะมารวมกันที่โฟกัสอีกด้านหนึ่งบนแกนมุขสำคัญ คือจุด F’ แต่ถ้ารังสีขนานเหล่านี้ไม่ขนานกับ
แกนมุขสำคัญ ก็จะไปรวมกันที่จุดหนึ่งบนระนาบโฟกัส ดังรูป
รูปที่ 53 จุดรวมแสงขนานเมื่อผ่านเลนส์นูน
ในกรณีเลนส์เว้า รังสีที่ขนานกับแกนมุขสำคัญเมื่อผ่านเข้าไปในเลนส์เว้าจะหักเห และเมื่ออกจาก
เลนส์ก็จะหักเหอีกครั้ง โดยรังสีหักเหจะเบนหรือกระจายออก ถ้ารังสีเหล่านี้ย้อนกลับไปก็จะพบกันที่จุด F’ ถ้า
ี
มีรังสีขนานมาจากทางขวาของเลนส์ก็จะทำให้เกิดโฟกัสเสมือน F’ ขึ้นอกด้านเดียวกัน ความยาวโฟกัสของ
เลนส์เว้าทั้งสองกรณีเท่ากัน ในกรณีที่รังสีขนานไม่ขนานกับแกนมุขสำคัญก็สามารถเขียนแนวของรังสีหักเหได้
ในทำนองเดียวกับกรณีของเลนส์นูน
รูปที่ 54 โฟกัสของเลนส์เว้า
ในกรณีวัตถุอยู่บนแกนมุขสำคัญและอยู่ไกลจากเลนส์มาก เลนส์นูนจะให้ภาพจริง ฉากรับได้ และ
เลนส์เว้าจะให้ภาพเสมือน โดยเลนส์ที่ใช้ศึกษาเป็นเลนส์บาง ที่มีความหนาน้อยเมื่อเทียบกับระยะวัตถุ ระยะ