Page 9 - ดวงพิชัยสงคราม
P. 9
184 ฉบับแล้ว ได้ข้อยุติว่า ต�าราพิชัยสงครามของไทย ประกอบด้วย
สาระส�าคัญทั้งสิ้น 3 ส่วน คือ
ยุทธศำสตร์
ยุทธวิธี
ว่ำด้วยวิชำไสยศำสตร์และโหรำศำสตร์
กลยุทธ์ต่างๆ ยังจ�าแนกออกเป็นหลายชั้นหลายเชิง เท่าที่สรุปได้
คือการตั้งรับและการรุก
การตั้งรับ คือ เตรียมพร้อมที่จะรับทัพข้าศึก กระบวนนี้ยังแบ่ง
ออกเป็น การวางแผนตั้งรับระยะสั้น การวางแผนตั้งรับระยะยาว การเตรี
ยมการด้านเอกสาร การสร้างจุดยุทธศาสตร์การป้องกันในเขตพระนคร
การรุก คือ การรุกรานเข้าสู่ฝ่ายข้าศึก แบ่งออกเป็นการรุกระยะ
สั้น การรุกระยะยาว
มีตำารายุทธพิชัยสงครามแล้ว ยังต้องมียุทธวิธีด้วย แม้ต�ารา
พิชัยสงครามจะมีบทบาทส�าคัญตอ่การท�าศึกของไทยมาช้านาน แต่ต�ารา
พิชัยสงครามก็เป็นเพียงกรอบหรือทฤษฎีที่ก�าหนดรูปแบบการรบอย่า
งกว้างๆ ตัวแม่ทัพยังจ�าเป็นต้องอาศัยความสามารถเฉพาะตัวในการน�า
ต�าราพิชัยสงครามมาปรับใช้กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงๆ การสงคราม
ครั้งส�าคัญๆ เท่าที่ผ่านมา จะเป็นตัวพิสูจน์ความสามารถของแม่ทัพใน
การน�าต�ารามาใช้ ผสานกับประสบการณ์ และความเข้าใจต่อสถานการณ์
ขณะนั้น หรือที่เรียกว่ายุทธวิธีเฉพาะการณ์ เช่น สงครามครั้งสมเด็จพระ
นเรศวรทรงตีเมืองคัง ในพ.ศ. 2124 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า แม่ทัพล่วงรู้
ชัยภูมิและมีประสบการณ์เป็นอย่างดี แม้เราจะมีก�าลังน้อยกว่าฝ่ายตรง
ข้าม แต่ก็สามารถแต่กลลวงให้ข้าศึกส�าคัญผิดว่ามีก�าลังเหนือกว่า เนื่อง
จากเมืองคังอยู่เขาสูง ทางเดินขึ้นด้านหลังได้อีกทางหนึ่ง กองทัพพม่า
เคยเข้าตีทางด้านหน้า 2 ครั้ง แต่ไม่ประสบผลส�าเร็จ ครั้นสมเด็จพระ
นเรศวรจะเข้าตี พระองค์ได้แบ่งกองทัพออกเป็น 2 กอง พอตกค�่าให้
กองที่มีก�าลังน้อยซุ่มอยู่ด้านหน้า และรุกเข้าไปยิงปืนโห่ร้อง ข้าศึกส�าคัญ
ผิดว่าไทยจะเข้าทางด้านหน้า จึงมุ่งมาทางนี้ทางเดียว ด้วยเหตุนี้จึงถูก
ดวงพิชัยสงคราม 9