Page 2 - การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
P. 2
การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
วัตถุประสงค์
เพื่อวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงที่มีการต่อตัวต้านทานแบบขนานและแบบอนุกรมพื้นฐาน และ
วิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงที่มีการต่อแบตเตอรี่ โดยการใช้โปรแกรม Tinkercad ช่วย
ทฤษฎี
การต่อตัวต้านทาน
ในการนำตัวต้านทานสองตัวมาต่อกันแล้วนำไปต่อกับแบตเตอรี่จะสามารถทำได้ 2 รูปแบบคือ การต่อ
ตัวต้านทานแบบอนุกรม (Series) และการต่อตัวต้านทานแบบขนาน (Parallel) ดังรูป
ก. การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม ข. การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
ิ่
เป็นการต่อตัวต้านทานแบบปลายต่อปลายเรียงแถวกัน การต่อแบบนี้จะมีค่าของความต้านทานเพม
มากขึ้นเท่ากับผลรวมของค่าความต้านทานแต่ละตัวในวงจร
จากรูป ก. เราทราบว่า = +
1
2
จากกฎของโอห์ม จะได้ = +
2 2
1 1
เมื่อ คือความต้านทานสมมูลของ และ ที่ต่อแบบอนุกรม ดังรูป ข.
1
2
เนื่องจาก = =
2
1
ดังนั้น = +
2
1
ถ้าต่อตัวต้านทาน ตัว แบบอนุกรม จะได้ความต้านทานสมมูล ดังนี้
= + + + … +
1
2
3