Page 4 - การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
P. 4

การต่อตัวต้านทานแบบผสม

                       คือการนำการต่อแบบอนุกรมและขนานมารวมกันภายในวงจรเดียวกัน โดยการหาค่าความต้านทาน
               รวมต้องค่อย ๆ หาที่ละส่วน แล้วทำการยุบวงจร และนำมาคิดรวมกันอีกทีตอนสุดท้าย











                       การประยุกต์ความรู้เรื่องการต่อตัวต้านทาน

                                                                                                ั
                                 ั
                       1. การแบ่งศกย์ ความรู้เรื่องการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมนำไปใช้ในการแบ่งความต่างศกย์ในวงจร
               ตัวต้านทานที่ทำหน้าที่นี้เรียกว่า ตัวแบ่งศักย์ (potential divider)
                       2. การแบ่งกระแสไฟฟ้า ในวงจรที่มีตัวตเนทานต่อกันแบบขนาน กระแสไฟฟ้าในวงจรจะถูกแบ่งผ่าน

               ตัวต้านทานแต่ละตัว ตัวต้านทานที่ทำหน้าที่นี้เรียกว่า ตัวแบ่งกระแส (current divider)
                       การต่อแบตเตอรี่

                       การต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรม

                       เป็นการนำขั้วตรงข้ามของแบตเตอรี่แต่ละก้อนต่อเรียงกันไป














                       พิจารณาแบตเตอรี่สองก้อนที่ต่ออนุกรม และต่อกับตัวต้านทานที่มีตัวต้านทาน R ดังรูป ก. แบตเตอรี่
               แต่ละก้อนมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า E และ E และมีความต้านทานภายใน r และ r ตามลำดับ ถ้ากระแสไฟฟ้าใน
                                                                          1
                                                2
                                         1
                                                                                2
               วงจรเท่ากับ I ความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่เท่ากับ V และ V และความต่างศักย์ระหว่างจุด a และ b
                                                                       2
                                                                 1
               เท่ากับ V จะได้
                       ab
                                                            =    +    2
                                                             1
                                                                                 2
                       จะได้                         = (   −      ) + (   −      )
                                                                1
                                                                         2
                                                        1
                       หรือ                          =    +    −   (   +    )                  (ก)
                                                                             2
                                                       1
                                                              2
                                                                       1
                       จากรูป ก. สามารถเขียนวงจรเทียบเท่าได้ดังรูป ข. เมื่อ E เป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าสมมูลและ r เป็นความ
               ต้านทานสมมูลของแบตเตอรี่ทั้งสอง
                       จาก                           =    −                                    (ข)
                       เทียบสมการ (ก) และ (ข) จะได้
                                               =    +   
                                                    1
                                                           2
   1   2   3   4   5   6   7   8   9