Page 10 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 10

10 | ห น า


               เรื่องที่ 1  การเลือกสื่อในการฟงและดู




                       สังคมปจจุบันชองทางการนําเสนอขอมูลใหดูและฟงจะมีมากมาย  ดังนั้นผูเรียนควรรูจักเลือกที่

               จะดูและฟง  เมื่อไดรับรูขอมูลแลว  การรูจักวิเคราะห วิจารณ เพื่อนําไปใชในทางสรางสรรค  เปนสิ่งจําเป
               นเพราะผลที่ตามมาจากการดูและฟงจะเปนผลบวกหรือลบแกสังคม   ก็ขึ้นอยูกับการนําไปใช  นั่นคือผล

               ดีจะเกิดแกสังคมก็เมื่อผูดูและฟงนําผลที่ไดนั้นไปใชอยางสรางสรรค    หรือในปจจุบันจะมีสํานวนที่ใช

               กันอยางแพรหลายวาคิดบวก

                       เมื่อรูจักหลักในการฟงและดูแลว ควรจะรูจักประเภทเพื่อแยกแยะในการนําไปใชประโยชน  ซึ่ง
               อาจสรุปประเภทการแยกแยะประเภทของสื่อในการนําไปใชประโยชน มีดังนี้

                       1.  สื่อโฆษณา  สื่อประเภทนี้ผูฟงตองรูจุดมุงหมาย  เพราะสวนใหญจะเปนการสื่อใหคลอยตาม

               อาจไมสมเหตุสมผล  ผูฟงตองพิจารณาไตรตรองกอนซื้อหรือกอนตัดสินใจ
                       2.  สื่อเพื่อความบันเทิง  เชน เพลง, เรื่องเลา ซึ่งอาจมีการแสดงประกอบดวย เชน นิทาน นิยาย

               หรือสื่อประเภทละคร สื่อเหลานี้ผูรับสารตองระมัดระวัง  ใชวิจารณญาณประกอบการตัดสินใจกอนที่จะ

               ซื้อหรือทําตาม  ปจจุบันรายการโทรทัศนจะมีการแนะนําวาแตละรายการเหมาะกับกลุมเปาหมายใด

               เพราะเชื่อกันวาถาผูใดขาดความคิดในเชิงสรางสรรคแลว สื่อบันเทิงอาจสงผลรายตอสังคมได เชน ผูดูเอา
               ตัวอยางการจี้, ปลน, การขมขืนกระทําชําเรา  และแมแตการฆาตัวตาย โดยเอาอยางจากละครที่ดูก็เคยมีมา

               แลว

                       3.  ขาวสาร สื่อประเภทนี้ผูรับสารตองมีความพรอมพอสมควร  เพราะควรตองรูจักแหลงขาว ผู

               นําเสนอขาว การจับประเด็น ความมีเหตุมีผล รูจักเปรียบเทียบเนื้อหาจากที่มาของขาวหลายๆ แหง เปนต
               น

                       4.  ปาฐกฐา เนื้อหาประเภทนี้ผูรับสารตองฟงอยางมีสมาธิเพื่อจับประเด็นสําคัญใหได และกอน

               ตัดสินใจเชื่อหรือนําขอมูลสวนใดไปใชประโยชนตองมีความรูพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ อยูบาง
                       5.  สุนทรพจน สื่อประเภทนี้สวนใหญจะไมยาว และมีใจความที่เขาใจงาย ชัดเจน แตผูฟงจะต

               องรูจักกลั่นกรองสิ่งที่ดีไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ

                       หลักการฟงและดูอยางสรางสรรค



                       1.  ตองเขาใจความหมาย    หลักเบื้องตนจองการจับใจความของสารที่ฟงและดูนั้น    ตองเขา

               ใจความหมายของคํา  สํานวนประโยคและขอความที่บรรยายหรืออธิบาย
                       2.  ตองเขาใจลักษณะของขอความ    ขอความแตละขอความตองมีใจความสําคัญของเรื่องและ

               ใจความสําคัญของเรื่องจะอยูที่ประโยคสําคัญ ซึ่งเรียกวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยู

               ในตอนใดตอนหนึ่งของขอความ    โดยปกติจะปรากฏอยูในตอนตน  ตอนกลาง  และตอนทาย    หรืออยู
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15