Page 11 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 11

ห น า  | 11



               ตอนตนและตอนทายของขอความผูรับสารตองรูจักสังเกต  และเขาใจการปรากฏของประโยคใจความใน
               ตอนตางๆ ของขอความ จึงจะชวยใหจับใจความไดดียิ่งขึ้น

                       3.  ตองเขาใจในลักษณะประโยคใจความ  ประโยคใจความ  คือขอความที่เปนความคิดหลัก    ซึ่ง

               มักจะมีเนื้อหาตรงกับหัวขอเรื่อง เชน เรื่อง “สุนัข” ความคิดหลักคือ สุนัขเปนสัตวเลี้ยงที่รักเจาของ แต

               การฟงเรื่องราวจากการพูดบางทีไมมีหัวขอ แตจะพูดตามลําดับของเนื้อหา  ดังนั้นการจับใจความสําคัญต
               องฟงใหตลอดเรื่องแลวจับใจความวา  พูดถึงเรื่องอะไร คือจับประเด็นหัวเรื่อง และเรื่องเปนอยางไรคือ

               สาระสําคัญหรือใจความสําคัญของเรื่องนั่นเอง

                       4.  ตองรูจักประเภทของสาร  สารที่ฟงและดูมีหลายประเภท ตองรูจักและแยกประเภทสรุปของ
               สารไดวา  เปนสารประเภทขอเท็จจริง    ขอคิดเห็นหรือเปนคําทักทายปราศรัย  ขาว  ละคร  สารคดี  จะได

               ประเด็นหรือใจความสําคัญไดงาย

                       5.  ตองตีความในสารไดตรงตามเจตนาของผูสงสาร ผูสงสารมีเจตนาที่จะสงสารตางๆ  กับบาง
               คนตองการใหความรู    บางคนตองการโนมนาวใจ  และบางคนอาจจะตองการสงสารเพื่อสื่อความหมาย

               อื่นๆ ผูฟงและดูตองจับเจตนาใหได เพื่อจะไดจับสารและใจความสําคัญได

                       6.  ตั้งใจฟงและดูใหตลอดเรื่อง    พยายามทําความเขาใจใหตลอดเรื่อง    ยิ่งเรื่องยาวสลับ

               ซับซอนยิ่งตองตั้งใจเปนพิเศษและพยายามจับประเด็นหัวเรื่อง  กริยาอาการ  ภาพและเครื่องหมายอื่นๆ  ด
               วยความตั้งใจ

                       7.  สรุปใจความสําคัญ  ขั้นสุดทายของการฟงและดูเพื่อจับใจความสําคัญก็คือสรุปใหไดวา เรื่อง

               อะไร  ใคร  ทําอะไร  ที่ไหน  เมื่อไร  อยางไรและทําไม  หรือบางเรื่องอาจจะสรุปไดไมครบทั้งหมดทั้งนี้

               ยอมขึ้นกับสารที่ฟงจะมีใจความสําคัญครบถวนมากนอยเพียงใด

                       วิจารณญาณในการฟงและดู


                       พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมายของ  วิจารณญาณไววาปญญาที่สามารถรู

               หรือใหเหตุผลที่ถูกตอง  คํานี้มาจากคําวา วิจารณ ซึ่งแปลวา การคิดใครครวญโดยใชเหตุผลและคําวา
               ญาณ  ซึ่งแปลวาปญญาหรือ ความรูในชั้นสูง

                       วิจารณญาณในการฟงและด ู  คือการรับสารใหเขาใจเนื้อหาสาระโดยอาศัยความรู  ความคิด

               เหตุผล และประสบการณประกอบการใชปญญาคิดใครครวญแลวสามารถนําไปใชไดอยางเหมาะสม

                       การฟงและดูใหเกิดวิจารณญาณนั้นมีขั้นตอนในการพัฒนาเปนลําดับบางทีก็อาจเปนไปอยาง
               รวดเร็ว    บางทีก็ตองอาศัยเวลา    ทั้งนี้ยอมขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู    ประสบการณของบุคคลและ

               ความยุงยากซับซอนของเรื่องหรือสารที่ฟง

                       ขั้นตอนการฟงและดูอยางมีวิจารณญาณมีดังนี้
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16