Page 141 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 141
130
บุคลิกภาพไม่ได้ถูกก าหนดมาตั้งแต่วัยเด็กอย่างที่ฟรอยด์คิด แต่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดชีวิต
จิตใต้ส านึกไม่ได้ถูกครอบง าด้วยแรงปรารถนาทางเพศเท่านั้น แต่ยังประกอบด้วยปมต่าง ๆ หรือกลุ่ม
ของความทรงจ าและความนึกคิต ซึ่งเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เราพยายามจะผสมผสานสิ่งเหล่านี้เข้าเป็น
บุคลิกเฉพาะของตัวเอง จิตใต้ส านีกนั้นไม่ได้หมายถึงความทรงจ าของเราอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยัง
รวมถึงสิ่งที่เป็นลักษณะร่วมของมนุษยชาติซึ่งหมายถึง "จิตใด้ส านึกอันเป็นจิตวิญญาณในกระบวนการ
วิวัฒนาการของมนุษยชาติ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามโครงสร้างทางสมองของแต่ละบุคคล" บุคลิกภาพ
ของคนเราอาจแบ่งได้เป็น 2 สักษณะใหญ่ ๆ คือ บุคลิกภาพแบบเก็บตัวและแบบซอบสังคม
คาเรน ฮอร์เนย์ ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน (1885-1952)
บุคลิกภาพพื้นฐานหล่อหลอมมาจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมากกว่าแรงขับทางชีวภาพ
ตามแนวคิดของพรอยด์ ความสับสนทางบุคลิกภาพมีสาเหตุมาจากการที่คนคนนั้นใช้ชีวิตโดยมีความ
วิตกกังวลเป็นพื้นฐาน ซึ่งมีต้นตอมาจาก "ความรู้สึกถูกทอดทิ้งและช่วยตวเองไม่ได้ในโลกที่ไร้ความ
ปรานีในช่วงวัยเด็ก”
อีริค เอช. อีริคสัน ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน (1902-1994)
บุคลิกภาพเป็นผลจากพัฒนาการของชีวิตทั้งหมด 8 ช่วงวัย ตั้งแต่วัยทารกถึงวัยชรา โดย
บุคคลจะมีข้อขัดแย้งประจ าวัย แถละหาทางแก้ไขไปในแต่ละช่วงวัน วิธีแก้ข้อขัดแย้งของแต่ละคนจะ
ก าหนดบุคลิกภาพของคนคนนั้น ตัวอย่างเช่น ข้อขัดแย้งประจ าวันของวัยรุ่นคือ "ฉันคือใคร"
(วิกฤตการณ์เอกลักษณ์หรือการแสวงหาดนเอง ถ้าแก้ข้อขัดแย้งนี้ได้ จะท าให้เขาค้นพบเอกลักษณ์
ของตัวเอง)
บี. เอฟ. สกินเนอร์ ชาวอเมริกัน (1904-1990)
บุคลิกภาพเป็นผลของพลังงานภายนอกที่สามารถประเมินได้ ดังนั้นวิธีการคิดและกระท าจึง
เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดล้อมที่เราควบคุม ในหนังสือชื่อ Walden Two สกินเนอร์ผันถึงดินแดนใน
อุดมคติที่ซึ่งบุคลิกภาพได้รับการหล่อหลอมมาจากการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึ่งปรารถนาอย่างเป็น
ระบบ
5.5 ประเภทของบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพของบุคคลโดยทั่วไป แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้