Page 145 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 145

134







                                 (2) อัตถัญญุตา คือ การรู้จักผล คือ รู้ถึงความมุ่งหมาย หรืออรรถประโยชน์ หรือคุณค่าที่
                       แท้จริง


                                 (3) อัตตัญญูตา คือ การรู้จักตน คือ รู้ถึงฐานะหรือก าลังในด้านต่าง ๆ ของตนที่มีอยู่เช่น วัย

                       เพศนิสัย สถานภาพทางสังคม ก าลังหรัพย์ ความรู้ ความสามารถ ความถนัด เป็นต้น


                                 (4) มัตตัญญตา คือ การรู้จักประมาณ คือรู้ถึงความพอเหมาะพอดีในการกระท าสิ่งต่าง ๆ ไม่

                       มากเกินไปหรือไม่น้อยเกินไป


                                 (5) กาลัญญตา คือ การรู้จักกาล คือ รู้จักใช้เวลาให้ถูกต้อง ตรงเวลา เป็นเวลา ทันเวลา พอ
                       เวลา เหมาะเวลา เป็นต้น


                                 (6) ปริสัญญุตา คือ การรู้จักชุมชน คือ รู้จักในเรื่องความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรมของ

                       ชุมชนหรือรู้เท่าทันความเป็นไปของสังคม


                                 (7) ปุคคลัญญตา คือ การรู้จักบุคคล คือ รู้จักความแตกต่างของบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วยเช่น

                       โดยอับยาศัย ความสามารถ ความถนัด เป็นต้น

                                 "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ตามแนวพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหา

                       ภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงประยุกต์หลักธรรมในหมวด "สัปปุรีสธรรม " นี้ ให้ยนย่อมาเหลือเป็น 3 หัวข้อ

                       คล้ายกับที่พระพุทธองค์ได้ตรัสประยุกต์และยนย่ออริยมรรคมีองค์ 8 ให้เหลือเพียง 3 หัวข้อ คือ ศีล

                       สมาธิและปัญญา ซึ่งสามารถน ามาเปรียบเทียบกันได้ดังนี้


                              (1) ความพอประมาณ คือ การรู้จักตน และรู้จักประมาณ


                              (2) ความมีเหตุผล คือการรู้จักเหตุ และรู้จักผล

                              (3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี คือ การรู้จักกาล รู้จักชุมชน และรู้จักบุคคล


                                 โดยได้ทรงแนะน าให้พิจารณาเรื่องความพอประมาณก่อนเป็นอันดับแรก กล่าวคือ ให้เริ่มต้น

                       จากการพิจารณาต้นทุนหรือสิ่งต่าง ๆ ที่ตนเองมีอยู่จริง (รู้จักคนและรู้จักประมาณ) จากนั้นจึงเลือก

                       เพ้นวิธีการหรือกระบวนการด าเนินการต่าง ๆ (รู้จักเหตุ) และก าหนดเป้าหมายให้เหมาะสมกับต้นทุน

                       ที่มีอยู่ (รู้จักผล) ก็จะท าให้สามารถด าเนินการในเรื่องนั้น ๆ ได้ด้วยตนเอง คือ สามารถพึ่งตนเองได้ ไม่
                       ต้องตกอยู่ในลักษณะยืมจมูกผู้อื่นหายใจ และในที่สุดก็ยังต้องมีความระมัดระวัง ติดตามความ

                       เปลี่ยนแปลงของสิงต่าง ๆอยู่เสมอซึ่งสาระส าคัญที่จะต้องเฝ้าติดตาม คือเรื่องของเวลาหรือยุคสมัย
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150