Page 146 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 146

135







                       (รู้จักกาล) ตลอดจนเรื่องของบุคคล (รู้จักบุคคล) และสังคม (รู้จักชุมชน) ที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่
                       ตลอดเวลา


                                    อีกประการหนึ่ง ในความหมายของ "สัปปุริสธรรม 7 ซึ่งให้ไว้ว่า คือ "คุณสมบัติของคนดี"

                       เราจึงสามารถน าไปใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาตรวจสอบ "คนดี" และสามารถเลือกเฟ้น "คนดี"

                       ให้มาเป็น "ผู้น า" ของสังคมสนองพระบรมราโชวาทที่ได้พระราชทานไว้ ให้สัมฤทธิผลเป็นจริงขึ้นมาได้


                                   "ในบ้านเมืองนั้นมีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะท าให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การท าให้
                       บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การท าให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้

                       คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอ านาจ ไม่ให้ก่อความเดือดตร้อนวุ่นวายได้"


                                 2. อิทธิบาท 4


                                    อิทธิบาท 4 เป็นหลักธรรมที่สามารถน ามาใช้เป็นหลักปฏิบัติในการพัฒนาบุคลิกภาพได้เป็น

                       อย่างดีซึ่งตรงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มุ่งเตื่อนสติให้มีการด าเนินชีวิตในความ

                       พอประมาณมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน สามารถรองรับผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานของ
                       ความรู้และคุณธรรมตั้งองค์ประกอบของอิทธิบาท 4 มีดังต่อไปนี้


                                 (1) ฉันทะ คือ มีใจรัก หมายถึง พอใจจะท าสิ่งนั้นและท าด้วยใจรัก


                                 (2) วิริยะ คือ พากเพียร หมายถึง ขยันหมั่นเพียรและท าสิ่งนั้นด้วยความพยายามความ

                       เข้มแข็งไม่ทอดทิ้ง ไม่ท้อถอย และก้าวไปข้างหน้าจนกว่าจะส าเร็จ


                                 (3) จิตตะ คีย เอาจิตฝักใฝ่ หมายถึง ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ท าและท าสิ่งนั้นด้วยความคิด ท าแบบ

                       อุทิศกายใจ

                                 (4) วิมังสา คือ ใช้ปัญญาสอบสวน หมายถึง หมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตตุ

                       ผลตรวจสอบข้อบกพร่อง หาวิธีแก้ไข ปรับปรุง เพื่อจัดการและด าเนินงานนั้นให้ส าเร็จ


                                 พระธรรมปิฎก (2541 : 7) กล่าวว่าหลักการพัฒนาชีวิตในพระพุทธศาสนาที่น ามาใช้เป็น


                       หลักการพัฒนามุคลิกภาพนั้นมีอยู่ 4 ประการ ดังนี้


                                 (1) กายภาวนา เป็นการพัฒนาให้ร่างกายเจริญแข็งแรงดี มีสุขภาพดี และมีการพัฒนาทักษะ
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151