Page 22 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 22
11
1.2 ความหมายและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก่อให้เกิดความชอบพอ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของการมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันและสามารถน าไปสู่การท า
กิจกรรมการงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือกล่าวอีกนัยได้ว่า ความต้องการต่างๆของมนุษย์
หากได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอและเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราช
ด ารัสชี้แนะแนวทางการด าเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้นย้ าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถ
ด ารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิพัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ
1.2.1 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการด ารงชีวิตอยู่และปฏิบัติตนของ
ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ในการพัฒนาและบริหาร
ประเทศให้ด าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิ
วัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจ าเป็นที่จะต้องมี
ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบใดๆอันเกิดจากความเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ
ภายในทางนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ แต่ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน าวิชาการ
ต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการด าเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐาน
จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในระดับที่มีความส านึกใน
คุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด าเนินชีวิตด้วยความอดทน ความ
เพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วแล้วกว้างขวางทางด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้อย่างดี
1.2.2 หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง
และความไม่ประมาท โดยค านึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ แล้วคุณธรรมประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระท า
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักพิจารณาปรัชญา 5 ส่วนดังนี้