Page 85 - Bang Born
P. 85

78








                       เรื่องที่ 1  การศึกษาทางภูมิศาสตร

                                 1.  กําหนดวัตถุประสงคในการศึกษา การศึกษาทางภูมิศาสตรจะกําหนดวัตถุประสงค

                       ในการศึกษาดวยการตั้งคําถามเชิงภูมิศาสตร  โดยอาศัยความสามารถในการตั้งคําถามซึ่งคําถามที่ใช

                       ศึกษาทางภูมิศาสตรนั้นจะเปนคําถามที่มีลักษณะเฉพาะ โดยเปนปญหาเกี่ยวกับคําถามที่ถามวา ที่ไหน

                       และทําไม จึงตองเปนที่นั่น (where and why there) จึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งนักที่ผูเรียนจะตองพัฒนาและ

                       ฝกทักษะเกี่ยวกับการตั้งคําถาม เชน แนวคําถามที่ 1 เพราะเหตุใดสิ่งตาง ๆ จึงปรากฏและเปนอยูที่

                       ตรงนั้น เพราะเหตุใดมันจึงอยูที่นั่น  ตัวอยางคําถามที่ 1 ทําไมแผนดินไหวจึงเกิดที่ประเทศญี่ปุน  แนว

                       คําถามที่ 2 บางสิ่งบางอยางนั้นสัมพันธกับอะไรบาง  ตัวอยางคําถามที่ 2 ประเทศที่เกิดแผนดินไหว

                       ยังเกิดภูเขาไฟปะทุ และสึนามิดวย เพราะอะไร

                                 1. การตั้งคําถามนั้นจะตองเปนคําถามที่มีความเปนไปไดในการหาคําตอบ นํามาสูการ

                       ตั้งสมมติฐานของคําตอบและสะทอนใหเห็นถึงแนวทางในการรวบรวมขอมูลเพื่อหาคําตอบดวย

                       ในระดับเริ่มตนการฝกตั้งคําถามควรเริ่มตนแยกคําถามดานภูมิศาสตรออกจากคําถามทั่วไป ครูรวมกัน
                       ตั้งคําถามเพื่อใหผูเรียนสงสัยและกระตุนใหเกิดคําถามตอยอดตามมา

                                 2.  การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการออกปฏิบัติภาคสนาม และการสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูล

                       ที่จะใชในการศึกษาภูมิศาสตร เรียกวา สารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information) เปนขาวสาร

                       ขอมูล ที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับทําเลที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพและมนุษยบนทําเลที่ตั้งเหลานั้น เมื่อ

                       ผูเรียนตั้งคําถามเชิงภูมิศาสตร ผูเรียนจะตองรวบรวมขอมูลจากการอานและแปลความหมายจากแผนที่

                       ภาพถาย ขอมูลสถิติ ขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพรวมถึงการเก็บขอมูลจากการสอบถามการออก

                       ภาคสนามและการอางอิงจากเอกสาร

                                 1.  การออกภาคสนาม นับวามีความสําคัญเปนอยางมากในการศึกษาทางภูมิศาสตร เปนการ

                       ฝกทักษะการสังเกตในพื้นที่จริง จากการสัมภาษณ การสอบถาม การบันทึกภาพ การออกภาคสนามจะ

                       ชวยกระตุนใหความอยากรูอยากเห็น เพลิดเพลิน ชวยใหเกิดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) จากการ

                       เก็บขอมูลจะทําใหผูเรียนเขาใจลักษณะทางกายภาพและกิจกรรมของมนุษยที่เกิดขึ้นในที่ตาง ๆ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90