Page 92 - Bang Born
P. 92

85
































                                                 อุทยานประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา

                                 3.  การวิเคราะห และตีความขอมูลทางประวัติศาสตร เมื่อผูศึกษาไดรวบรวมขอมูลที่

                       เกี่ยวของกับประเด็นศึกษาแลว ผูศึกษาตองไตสวนหลักฐานแตละชิ้น เพื่อใหไดขอเท็จจริงที่นาเชื่อถือ

                       และไดรับการยอมรับมากที่สุด ดวยการประเมินภายนอกและประเมินภายใน

                                      การประเมินภายนอก หมายถึง การประเมินผูบันทึกหลักฐานและตัวหลักฐาน เนื่องจาก

                       หลักฐานมีหลายประเภท และหลายลักษณะ เชน หลักฐานชั้นตน หรือหลักฐานปฐมภูมิ ซึ่งเปนหลักฐาน

                       ที่เกิดขึ้นรวมสมัยกับหลักฐานนั้น หรือเกิดจากบุคคลที่มีความเกี่ยวของกับเหตุการณนั้นๆ และหลักฐาน

                       ชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ ซึ่งเปนหลักฐานที่เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ หรือเกิดจากบุคคลที่ไมมีสวน

                       รวมกับเหตุการณแตไดไปศึกษาคนควารวบรวมขึ้นภายหลัง นอกจากนี้ยังมีหลักฐานโบราณคดี เชน โครง

                       กระดูก เครื่องมือเครื่องใชของมนุษยโบราณ ศิลาจารึก วรรณกรรมโบราณ ซึ่งจําเปนตองอาศัย

                       ผูเชี่ยวชาญ เชน นักโบราณคดี นักภาษาศาสตร เปนผูวิเคราะหและประเมินหลักฐานดังกลาว ตัวอยาง

                       เชน

                                      ตัวอยางที่ 1  การประเมินผูบันทึกหลักฐาน คือ การสืบคนวาผูจัดทําหลักฐานคือใคร

                       ขณะที่ทําหลักฐานนั้น มีสถานะใด มีความเกี่ยวของกับเหตุการณนั้นหรือไม มีจุดมุงหมายอยางไรจึงจัดทํา

                       หลักฐานขึ้น มีความรูความสามารถเรื่องนั้นแคไหน ผูจัดทํามีเจตนาปกปองผลประโยชนหรือมีอคติกับ

                       เรื่องนั้นหรือไม
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97