Page 120 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 120
๑๒๒
เผยแพร่ในนิตยสาร Transportation Research Part C [https://doi.org/10.1016/j.trc.2020.102621]
ที่เสนอโมเดลการขนส่งระบบรองที่จะเชื่อมโยงไปถึงบ้านตามความต้องการของประชาชน (On Demand) ตาม
ภาพ 4.10
ภาพ 4.10 โมเดลการขนส่งระบบรองเพื่อเชื่อมโยงไปถึงบ้านตามความต้องการของประชาชน
ที่มา: งานวิจัย Value of Time and Reliability for Urban Pooled On-Demand Services ของ
Maria J. Alonso-Gonzalez และคณะ
2.2 การศึกษาภาคสนาม
2.2.1 ลงพื้นที่สำรวจประชากร 5 กลุ่ม จำนวน 145 คน แบ่งออกเป็น ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขต
มีนบุรี จำนวน 52 คน กลุ่มผู้ให้บริการยานพาหนะในเขตมีนบุรีและพื้นที่ต่อเนื่อง ได้แก่ วินมอเตอร์ไซค์รับจ้าง
จำนวน 18 คน ผู้ควบคุมวินรถสองแถว จำนวน 1 คน กลุ่มผู้ใช้บริการจุดจอดรถยนต์ “จอดแล้วจร” จำนวน 45
คน และกลุ่มผู้ใช้บริการรถโดยสาร BMA Shuttle Bus จำนวน 29 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ตามแบบสัมภาษณ์ที่ได้เตรียมไว้ ผลการสัมภาษณ์ประชากรแต่ละกลุ่ม มีรายละเอียดดังนี้
2.๒.๑.๑ กลุ่มผู้ใช้บริการรถโดยสาร Shuttle Bus ของกรุงเทพมหานคร สาย B3 ชุมชน
เคหะร่มเกล้า – ARL สถานีลาดกระบัง เนื่องเป็นเส้นทางที่มีจำนวนประชากรอยู่อาศัยหนาแน่นมาก และเป็น
พนที่ที่เกี่ยวเนื่องกับศูนย์ชุมชนมีนบุรี
ื้