Page 78 - รวมเล่ม เนื้อหา 6 ด้าน
P. 78

๘๐

                       ตาราง 3.1 สถิติจำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร จำนวน ๓๖ แห่ง
                                 ปีงบประมาณ ๒๕๖0 - ๒๕๖๒

                               ประเภท                                จำนวนผู้ใช้บริการ (หน่วย : ครั้ง)
                                                           ปี 2560             ปี ๒๕๖๑             ปี ๒๕๖๒
                 ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร    2,512,258           ๒,๒๔๗,๙๕๙           ๑,๘๖๗,๕๙๑

                 จำนวน ๓๖ แห่ง
                            ที่มา : กลุ่มงานพัฒนาห้องสมุดประชาชน กองนันทนาการ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว

                                    ์
               (๔)  ข้อมูลการวิเคราะหปัจจัยภายในองค์กร


                                                             วิสัยทัศน์


                              เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของคนกรุงเทพมหานครด้วยกีฬา นันทนาการ ดำรง
               ไว้ซึ่งคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และนำกรุงเทพมหานคร สู่การเป็นมหานครด้านการ
               ท่องเที่ยวระดับโลก

                       1. การประเมินสภาพแวดล้อม (SWOT)
                                                       สภาพภายในองค์กร
                               จุดแข็ง (Strengths)                           จุดอ่อน (Weaknesses)
                   S๑ กรุงเทพมหานครส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต   W๑ การจัดหาพื้นที่ในการจัดตั้งห้องสมุดฯ ที่มีความ

                ให้กับประชาชน โดยการสร้างและปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ เหมาะสมในกรุงเทพมหานครหาได้ยาก เพราะเป็นพื้นที่
                ให้มีความทันสมัยและมีอัตลักษณ์โดดเด่น           เศรษฐกิจ ทำให้ไม่มีห้องสมุดครบทุกพื้นที่เขต
                   S๒ การบริหารจัดการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้มี   W๒ ฐานข้อมูลความต้องการของประชาชนเพื่อใช้ใน

                เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ประจำทุกห้องสมุดเกิดเป็น การจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายยังมีไม่
                เครือข่ายการทำงานที่เข้มแข็งร่วมกัน             เพียงพอ อย่างแท้จริง
                   S๓ มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ    W๓ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ของกรุงเทพมหานคร
                ในห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เช่น การทำบัตรสมาร์ทการ์ด  ยังไม่เป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไปเท่าที่ควร
                การยืม การคืน สืบค้นด้วยระบบ Electronic ทำให้การ   W๔ ข้อมูลการให้บริการของแต่ละห้องสมุดยังกระจาย

                มาใช้บริการมีความสะดวกและรวดเร็วขึ้น            อยู่คนละแห่ง ตามแต่ละพื้นที่
                   S๔ มีห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร    W๕ สถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุดยังมีน้อย ประมาณ
                จำนวน ๓๖ แห่ง รถห้องสมุดเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน   ๒๐๐,๐๐๐ คน ต่อเดือน หรือ ๑,๙๐๐,๐๐๐ คนต่อปี
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83