Page 34 - Memo_Setthagitporeang-Hight.indd
P. 34

บท ที่  4




                            สถานการณ ของ ประเทศ ไทย


                            และ สถานการณ โลก กับ ความ พอเพียง








                       สาระสําคัญ

                              ปรัชญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง  มุงเนน ให เกิด การ พิจารณา อยาง รอบดาน  มี ความ
                       รอบคอบ  และ ระมัดระวังใน การ วาง แผน และ การ ดําเนินงาน ทุก ขั้นตอน   เพื่อ มิ ให เกิด ความ

                       เสียหาย ตอ การ พัฒนา   เปนการ พัฒนา ที่ คํานึง ถึง การ มี รากฐาน ที่ มั่นคง แข็ง แรง   สราง การ
                       เจริญ เติบโต อยาง มี ลําดับ ขั้นตอน  สามารถ ยกระดับ คุณภาพ ชีวิต ทั้ง ทาง กายภาพ และ ทาง จิต
                       ใจ ควบคู กัน    หลักการ ของ เศรษฐกิจ พอเพียง จึง มิได ขัดกับ กระ แส โลกา ภิวัฒน    ตรง กัน ขาม

                       กลับ สงเสริม ให กระ แส โลกา ภิวัฒน ไดรับ การ ยอมรับ มากขึ้น  ดวย การ เลือก รับ การ เปลี่ยน แปลง
                       ที่ สงผลกระทบ ใน แงดี ตอ ประเทศ    ในขณะ เดียว กัน ตอง สราง ภูมิ คุม กัน ใน ตัว ที่ ดี พอสมควร

                       ตอ การ เปลี่ยน แปลง ใน แง ที่ ไมดี และ ไม อาจ หลีกเลี่ยง ได    เพื่อ จํากัด ผล กระทบ ให อยู ใน ระดับ
                       ไม กอ ความ เสียหาย หรือ ไม เปน อันตราย ราย แรง ตอ ประเทศ


                         ผล การ เรียนรู ที่คาดหวัง

                              ตระหนัก ใน ความ สําคัญ ของ การ พัฒนา ประเทศภาย ใต กระ แส โลกา ภิวัฒน และ เลือก
                       แนว ทางหลัก ปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียง มา ประยุกต ใช ใน การ ดําเนิน ชีวิต อยาง สมดุล และ พรอม

                       รับ ตอ ความ เปลี่ยน แปลง ของ ประเทศภาย ใต กระ แส โลกา ภิวัฒน


                         ขอบขาย เนื้อหา

                              เรื่อง ที่ 1   สถานการณ โลก ปจจุบัน
                              เรื่อง ที่ 2   สถานการณพลังงาน โลก กับ ผลกระทบ เศรษฐกิจ ไทย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39