Page 13 - บทที่1
P. 13

4. ผลการตรวจทางรังสีวินิจฉัยของผูปวยรายนี้จากการสงตรวจทางสมองดวยเอกซเรยคอมพิวเตอร

               ผลปรากฏวามีลักษณะของการขาดเลือดที่บริเวณสมองซีกซายบริเวณตําแหนง frontal lobe เขาไดกับการ
               ตีบตันของหลอดเลือดแดงที่ชื่อวา middle cerebral ขางซาย


                     5. การวินิจฉัยขั้นสุดทาย คือ สมองขาดเลือดจากหลอดเลือดสมองตีบตันเฉียบพลันในสมองซีกซาย
               (Acute ischemic cerebral infarction in left cerebral hemisphere)



               สรุป

                       หลักการวินิจฉัยโรคของระบบประสาทนั้นสามารถทําไดโดยอาศัยขอมูลที่สําคัญของประวัติอาการ
               เจ็บปวย การตรวจรางกายทั่วไปและการตรวจรางกายทางระบบประสาทเพื่อนําขอมูลที่ไดทั้งหมดมาระบุ

               ตําแหนงของรอยโรคและพิจารณากลไกของการเกิดโรคโดยอาศัยความรูทางประสาทกายวิภาคและ

               ประสาทสรีรวิทยาเพื่อนํามาวิเคราะหและใหการวินิจฉัยที่ถูกตอตามลําดับ การตรวจเพิ่มเติมเปนกระบวน

               การที่ชวยสนับสนุนการวินิจฉัยเพื่อใหมีความถูกตองแมนยํามากขึ้นแตแพทยมีความจําเปนตองคํานึงถึง
               สิทธิผูปวย ผลแทรกซอนรวมถึงประโยชนที่เกิดขึ้นจากการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมตางๆ ความรู

               ความสามารถและทักษะทางคลินิกตางๆ นั้นนักศึกษาแพทยควรมีการฝกฝนใหมีความรูความชํานาญอยู

               เสมอจนกระทั่งสําเร็จการศึกษาไปประกอบวิชาชีพและดํารงไวซึ่งการรักษาใหเปนไปตามมาตรฐานของผู
               ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยคํานึงถึงสิทธิผูปวยและความคุมคาในทางการแพทยเปนสําคัญ



                                                       Take Home Message

































                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   8   9   10   11   12   13   14   15