Page 12 - บทที่1
P. 12

กรณีศึกษา



                      ผูปวยชายไทยคู อายุ 60 ป มีอาการแขนขาออนแรงซีกขวาหลังตื่นนอนตอนเชา เวลาเดินสังเกตวาจะเดิน
                    เซไปดานขวา สองกระจกพบวามุมปากขวาตก เวลาแปรงสีฟนใชมือขวาไดไมถนัด รูสึกพูดลําบากเวลาออก

                        เสียง ไมมีอาการชารวมดวย นักศึกษามีแนวทางการวินิจฉัยความผิดปกติของผูปวยรายนี้อยางไร



                     จากตัวอยางกรณีศึกษาขางตนใชแนวทางการวินิจฉัยเพื่อนํามาตั้งสมมติฐานของโรคตามลําดับได

               ดังตอไปนี้


                     1.  ผูปวยมีอาการออนแรงซีกขวา (Right hemiparesis) เปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นในวิถีประสาทสั่ง
               การของกลามเนื้อซึ่งอยูที่บริเวณสมองและไขสันหลัง (รอยโรคนี้นาจะอยูที่ระบบประสาทสวนกลาง

               มากกวาสวนปลาย) และเนื่องจากผูปวยมีอาการมุมปากตกรวมดวยซึ่งนาจะเปนความผิดปกติของวิถี
               ประสาทสั่งการของเสนประสาทสมอง (corticobulbar tract) รวมกับมีปญหาในการใชภาษาโดยเฉพาะการ

               ออกเสียง (motor aphasia) ทําใหสนับสนุนวานาจะเปนรอยโรคของสมองมากกวาไขสันหลัง


                     2. กลไกการเกิดโรคเปนแบบเฉียบพลัน (Acute onset) หากพิจารณาตามโครงสรางของอวัยวะที่ทํา
               ใหเกิดโรคแบบเฉียบพลันนี้อาจคิดถึงความผิดปกติของหลอดเลือดหรือเสนประสาทภายในสมองซึ่งอาจ

               เกิดจากการตีบตัน การติดเชื้อหรือการอักเสบ ซึ่งโครงสรางนี้นาจะเปนรอยโรคของหลอดเลือดมากกวา
               เสนประสาทเนื่องจากรอยโรคของหลอดเลือดเกิดไดที่ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งจะสามารถใหอาการของ

               ความผิดปกติไดหลายอยางที่เกิดจากการทํางานของสมองที่ถูกเลี้ยงดวยหลอดเลือดนั้นๆ โดยกลไกการ

               เกิดโรคหรือความผิดปกตินี้นาจะเกิดจากการตีบตันของหลอดเลือดมากกวาการแตกของหลอดเลือด
               เนื่องจากผูปวยไมมีอาการแสดงของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะที่เพิ่มสูงขึ้น (Increased intracranial

               pressure) ปรากฏใหเห็นหรืออีกสมมติฐานหนึ่งของความผิดปกติของหลอดเลือดนี้อาจเกิดจากการอักเสบ

               ของหลอดเลือดที่เปนสาเหตุอีกก็ไดในขณะที่หากเปนรอยโรคของเสนประสาทแสดงวานาจะมีรอยโรค
               กระจายทั่วไปตามเสนประสาทในสมอง


                     3. การวินิจฉัยเบื้องตนสามารถตั้งสมมติฐานวาเปนการตีบตันของหลอดเลือดอยางเฉียบพลัน
               (acute vascular obstruction) หรือการแตกของหลอดเลือดทําใหมีเลือดออกอยางเฉียบพลัน (acute

               vascular hemorrhage) ไดสวนการวินิจฉัยแยกโรคอาจเปนการอักเสบของเสนประสาท การอักเสบของ

               หลอดเลือด ตลอดจนความผิดปกติทางภูมิคุมกัน เปนตน








                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   7   8   9   10   11   12   13   14   15