Page 51 - HistoryofNakornratchasima
P. 51

วัดพายัพ พระอารามหลวง

                 วัดพายัพ ได้รับการบูรณะในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช นามว่า
            “พายัพ” เพราะที่ตั้งอยู่ตรงมุมเมืองด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ในปัจจุบันวัดพายัพ
            ถูกบูรณะใหม่จนแทบไม่เหลือเค้าโครงศิลปะของอยุธยาแล้ว แต่ยังมีของส�าคัญที่บ่งชี้
            ถึงความเก่าแก่ในสมัยอยุธยา ได้แก่
                 - แผ่นไม้แกะสลักการเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ของพระโพธิสัตว์สิทธัตถะ
            เป็นรูปพระโพธิสัตว์เจ้าชายสิทธัตถะทรงม้ากัณฐกะ มีนายฉันนะเกาะหลังม้าตามเสด็จ
            บริเวณขาของม้าทั้ง ๔ ขา มีท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ ประจ�าอยู่ น�าพระองค์เหาะข้ามก�าแพง
            พระนครออกไปอย่างปาฏิหาริย์ ซึ่ึ่งเป็นภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติตอนมหาภิเนษกรมณ์
                 - หน้าบันแผ่นไม้ประกอบหน้าบันลูกฟักหน้าพรหมของพระอุโบสถ


            แผ่นไม้หน้าบันแกะสลักการเสด็จออก     หน้าบันแผ่นไม้ประกอบหน้าบันลูกฟัก
            มหาภิเนษกรมณ์ของพระโพธิสัตว์สิทธัตถะ        หน้าพรหมของพระอุโบสถ
            ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่                         ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่
            พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา                 พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา

































           ภาพถ่ายพระอุโบสถหลังเก่า วัดพายัพ              พระอุโบสถ วัดพายัพในปัจุบัน
                 ออกแบบศิลปะในสมัยอยุธยา            ถูกบูรณะขึ้นใหม่จนไม่เหลือเค้าโครงเดิม
             ลักษณะเป็นทรงส�าเภาก่ออิฐถือปูน

                                      รู้เรื่องเมืองโคราช ท่องประวัติศาสตร์และอารยธรรมขอม 49
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56